กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8515
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบุญชู บุญลิขิตศิริ
dc.contributor.advisorภานุ สรวยสุวรรณ
dc.contributor.authorอัญธิกา โต๊ะชัยบูรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T03:45:01Z
dc.date.available2023-06-06T03:45:01Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8515
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์และออกแบบการแต่งหน้าตามหลักโหงวเฮ้ง โดยมีแนวคิดจากอัญมณี 12 ราศี เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับผู้หญิงยุคใหม่ เนื่องจากปัจจุบันนี้ ผู้หญิงมีบทบาทมากขึ้นในสังคม จําเป็นต้องพัฒนาตนเองหรือแก้ไขจุดบกพร่อง ความงามจึงเป็นสิ่งที่จะช่วยเปิดโอกาสที่ดีจากผู้ที่พบเจอการแต่งหน้าจึงเป็นทางเลือกที่ผู้หญิงนิยมนํามาใช้ มากยิ่งขึ้น การแต่งหน้าไม่ว่าจะเพิ่มความสวยงาม ยังปกปิดอําพรางสิ่งที่ไม่อยากเปิดเผย สร้างบุคลิกภาพ ความน่าเชื่อถือ การยอมรับในสังคมคนรอบข้าง ตามหลักความเชื่อโบราณนั้น การมีโหงวเฮ้งดีจะมีความเป็นสิริมงคลต่อชีวิต ชื่อเสียง การประสบโชคลาภและความสําเร็จ ดังนั้นศาสตร์ของโหงวเฮ้งจึงมีอิทธิพลในด้านของภาพลักษณ์ และความงาม และอิทธิพลทางโหราศาสตร์ ราศีเกิดกับอัญมณีมงคล ที่จะช่วยส่งเสริมสิริมงคล ควบคู่กันกับโหงวเฮ้ง ผลการศึกษาพบว่า การสร้างความกลมกลืนระหว่างความงามและความเป็นสิริมงคลไว้ด้วยกันโดยการนําหลักของโหงวเฮ้งและอัญมณี 12 ราศี นํามาออกแบบการแต่งหน้าเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ให้กับอาสาสมัคร โดยทั้งนี้ยังคงความชอบส่วนบุคคลโดยการสัมภาษณ์ โดยให้อาสาสมัครได้เลือกแนวทางในการแต่งหน้าได้เอง โดยผู้วิจัยยังคงยึดหลักของ หงวเฮ้งและอัญมณี 12 ราศี มาใช้ในการออกแบบให้เหมาะสมกับอัตลักษณ์ โอกาสตามความเหมาะสม ผลประเมินความพึงพอใจจากอาสาสมัครทั้ง 12 คน ได้ข้อสรุปว่าก่อนได้รับ การออกแบบแต่งหน้า อาสาสมัครมีความมั่นใจในเกณฑ์น้อย และหลังจากได้รับการแต่งหน้า อาสาสมัครมีความมั่นใจมากขึ้น โดยมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด ซึ่งผลตอบรับตรงตามจุดประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้ที่ต้องการให้เพิ่มความมั่นใจและภาพลักษณ์ให้กับผู้หญิง และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้จริง คือ ผลตอบแทนความประสบ ความสําเร็จในงานวิจัยชิ้นนี้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subjectใบหน้า -- ศัลยกรรมตกแต่ง
dc.titleโหงวเฮ้งสู่การออกแบบ เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์บนใบหน้าตามแนวคิดอัญมณี 12 ราศี
dc.title.alternativePhysiognomy to promote fce imge design bsed on twelve zodic gemstone concept
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeDue to women’s impact to society nowadays, they look for methods to get better opportunities through improving personality especially the most easily seen and viable: the face. This research is founded on the basis of traditional beliefs on Physiognomy and zodiac gemstones. The result obtained from measuringby the impact on how that creates more confidence in the subjects or even gains more acceptance from everyone around them. According to traditionalbeliefs,Physiognomy is to promote personal outlook as well as to bring fortune and success. Astrology is also believed to bring good fortune through one of its prevalent forms: the application of zodiac gemstones. When both systems are aligned, they could have great impact on individual’s personal image. The experiment was performed on twelve female volunteers who willingly adopted the principles of Physiognomy and gemstones of each individual’s zodiac. They were allowed to freely wear facial makeups of choice but were advised on how they did it based on the principles of Physiognomy. Based on the occasion and individual’s character, this would ensure the harmony of wellness and fortune that both principles claim. The purpose of the experiment was to measure the impact on how new looks could change the way female volunteers feel about themselves. The result was unison. Prior to the experiment, they leaned toward self-consciousness and showed little confidence in themselves. After daily application of the techniques, their confidence level grew significantly and so satisfyingly. According to the volunteers, they found practical use in their daily life to gain better self-image and more confidence. And that is the real gain from this experiment.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57920320.pdf9.55 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น