กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8508
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาติ เถาทอง | |
dc.contributor.advisor | วิโชค มุกดามณี | |
dc.contributor.author | สรไกร เรืองรุ่ง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:44:51Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:44:51Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8508 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562 | |
dc.description.abstract | การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเกิดจากกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์มาสู่วิธีการและขั้นตอนการสร้างสรรค์ให้ได้มาซึ่งผลงานศิลปะที่ตอบสนองความต้องการของพื้นที่ และมีความสมบูรณ์ สวยงามด้วยองค์ประกอบทางศิลปะและบริบทของพื้นที่ ปัจจุบันการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะมักเกิดขึ้นจากการตอบสนองทางด้านจิตใจเป็นสําคัญ เมื่อศิลปินสร้างสรรค์ผลงานจนเสร็จสมบูรณ์ก็มีการจัดเก็บในหอศิลป์ หรือสถานที่ต่าง ๆ หรือการจัดตั้งในสถานที่ต่าง ๆ โดยอาจมองข้ามหรือไม่คํานึงถึง ความเหมาะสมของผลงานศิลปะและบริบทของพื้นที่นั้น ๆ วิจัยแบบสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม “รื่นรมย์สําราญ” เป็นการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ที่เกิดจากการหาดุลยภาพของความหมายระหว่างประติมากรรมกับสิ่งแวดล้อม ด้วยการสร้างรูปทรงที่ได้ จากการศึกษาบริบทของพื้นที่โดยมีการคํานึงถึงคุณค่าทางสุนทรียะของผลงานซึ่งผลงานประติมากรรม “รื่นรมย์สําราญ” นี้ได้สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อส่งเสริมภูมิทัศน์บริเวณสี่แยกหาดเจ้าสําราญ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี โดยมีการประเมินผลการรับรู้และความพึงพอใจจากผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะและผู้ที่ได้ร่วมชมผลงานประติมากรรม ทําให้ได้มาซึ่งผลงานประติมากรรมที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านรูปทรงและความสัมพันธ์กับพื้นที่ติดตั้งผลงาน การวิจัยและสร้างสรรค์นี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับตําบลหาดเจ้าสําราญ จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งในการศึกษาพบว่าการสร้างสรรค์ผลงานให้เข้ากับพื้นที่นั้นจะ สร้างสรรค์ผลงานตามจิตนาการ อารมณ์ ความรู้สึกของส่วนตัวไม่ได้ เพราะจะทําให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด และความรู้สึกของคนในชุมชนในพื้นที่ได้ หรืออาจส่งผลถึงการต่อต้านให้รื้อถอนเช่นที่เคยเกิดขึ้นในบางพื้นที่ทั้งนี้ควรคํานึงถึงความสัมพันธ์ของพื้นที่ เนื้อหาและเรื่องราว และความเพิ่งพอใจต่อชุมชนในพื้นที่ ซึ่งจะทําให้ส่งผลไปถึงอารมณ์ความรู้สึกที่จะเกิดเป็นความสุขตามชื่อของพื้นที่นี้ และเกิดดุลยภาพระหว่างกันประติมากรรมกับสิ่งแวดล้อม จากประเด็นดังกล่าวการสร้างสรรค์ผลงาน ประติมากรรม “รื่นรมย์สําราญ” พบว่า สามารถส่งเสริมภูมิทัศน์ และสร้างอัตลักษณ์ให้กับพื้นที่ได้ และทําให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมและเห็นคุณค่าของผลงานศิลปะที่มีต่อสังคม สามารถรับรู้ความงาม หรือความสุนทรีต่องานศิลปะที่สร้างสรรค์ขึ้นเฉพาะพื้นที่โครงการวิจัยเรื่อง รื่นรมย์สําราญ: การหาดุลยภาพของความหมายระหว่างประติมากรรมกับสิ่งแวดล้อมจะมีประโยชน์และสามารถเป็นแนวทางสําหรับการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมแก่ผู้ที่สนใจและต้องการศึกษาเกี่ยวกับประติมากรรมกับสิ่งแวดล้อมสืบไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | ประติมากรรม | |
dc.subject | จินตภาพ | |
dc.title | รื่นรมย์สำราญ : การหาดุลยภาพของความหมายระหว่างประติมากรรมกับสิ่งแวดล้อม | |
dc.title.alternative | Joyful&plesnt: findingblnceof meningbetween sculpture nd environment | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Works of art could be described as the result of creative process, in other words, it could be mentioned as the process of creative production associated with space and environmental aspects which might be resulted in specific valuable artworks satisfying local requirement in terms of element of art and aesthetic completion. In present day, even though, contemporary arts are mainly created in order to answer psychological response, but after finishing, artworks perhaps were found stored in galleries or places without logical or right consideration. General speaking, artwork keeping might not be procedure properly based on its value and the context of that particular area. The sculpture titled “Joyful & Pleasant” was the result conducted within creative research representing its meaning related to balance between the sculpture and the environment. In addition, the use of forms that designed through local context research and its analysis and synthesized process associated with aesthetical consideration. Moreover, sculpture “Joyful & Pleasant” was also created in order to promote and enhance landscape at Chao Sam Ran Beach Intersection, Phetchaburi within the process of perception and satisfaction evaluation by art veteran and site specific audiences. Therefore, it could be highlighted that through all related processes the sculpture was completed and valuable in terms of form and its relationships to local space or environment. This research and creativityaimed to analyze and synthesize information related to local Chao Sam Ran Beach district, Phetchaburi which the finding stated that the process of sculpture creativity could not be done without consensus or agreement from local people. In other words, the process of artwork making had to procedure through the use of artist’s imagination and personal emotion paralleled with local citizen’s cooperation and satisfaction in terms of emotional ฉ aspect, the balance of sculpture and surrounded space or environment, and local stories or background. In summary, there would be not only local community’s satisfaction which the concept and title of sculpture could provide and answer the local area name as “Chao Sam Ran” which means “the area of happiness”, but also there was the balance between the form of sculpture and local landscape and its environment which could improve the atmosphere and scenario of specific site, Chao Sam ran Beach Intersection, and eventually resulted in the local identity or landmark. Furthermore, the finding also highlighted that “Joyful & Pleasant” Project successfully completed and contributed the community in terms of local landscape reimaging alongside with repositioning and enhancing the status of art and its acknowledgement within the community through the use of sculpture and its value, aesthetical representation. On the other hands, not only this site-specific sculpture project provided the knowledge and raised the degree of art appreciation and happiness to local, but also their constantly would be the contribution to other art practitioners and related party who interested art making process, especially sculpture and the understanding of balance between art and environment | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
53810068.pdf | 120.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น