กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/847
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมถวิล จริตควร | |
dc.contributor.author | สมภพ รุ่งสุภา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:47Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:47Z | |
dc.date.issued | 2539 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/847 | |
dc.description.abstract | ทำการออกเก็บตัวอย่างดินตะกอนบริเวณอ่าวไทยตอนบน ตั้งแต่บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จนถึงศรีราชา และเกาะสีชัง ระหว่างเดือนสิงหาคม 2538-เดือนสิงหาคม 2539 โดยตัดเฉพาะผิวหน้าดินหนา 2 ซม. เก็บด้วยเครื่องมือเก็บตัวอย่างดินที่ไม่ทำให้ชั้นดินถูกทำลายหรือเสียรูป ส่วนหนึ่งนำมาร่อนด้วยตะแกรงร่อนตาถี่เพื่อนำสิ่งที่ค้างอยู่มาตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์กำลังขยายสูง อีกส่วนหนึ่งนำมาใส่หลอดทดลองเติมน้ำทะเลกรองทิ้งไว้ 1 วัน นำน้ำตัวอย่างชั้นบนมาตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์กำลังขยายสูง เปลี่ยนน้ำทะเลกรองเช่นนี้เป็นเวลา 5 วันต่อเนื่อง ผลการศึกษาพบ Cyst ของ Phaeopolykrikos sp. มากและบ่อยที่สุด โดยมีลักษณะกลมมีหนามเล็ก ๆ โดยรอบ ปากแม่น้ำบางปะกงเป็นบริเวณที่พบบ่อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเดือนมกราคม 2539 หรือในช่วงฤดูหนาว จำนวนตัวอย่างที่พบไดโนเฟลกเจลเลตซีสเทียบกับตัวอย่างทั้งหมดที่เก็บยังน้อยมากอยู่ในช่วง 6.6-40% และการตรวจสอบด้วยวิธีเพาะขยายในหลอดทดลองจะได้ผลดีกว่าการกรองด้วยตะแกรงตาถี่ Sediment sampling covered Bangpakong river mouth to Srilacha and Sichang island from August 1995- August 1996. The top 2 cm. of non destroyed structure sediment by special corer was divided into two part. One was sonicated and sieved with stainless steel sieve and let filtered sample to study type and shape with high resolution microscope. The other was incubated in test tube by filter seawater (from the sampling site) incubated for 1 day and check the seawater above under high resolution microscope. The new filter seawater was changed daily and continuous monitoring for 5 days. The result was that Phaeopolykrikos sp. cyst cyst was round shape covered with tiny spine was the most frequency and abundant. The appearance of dinoflagellate cysts were dominant in Bangpakong River Mouth, especially in January 1996 or winter season. And the frequency of dinoflagellate cyst was only 6.6-40.0% of total samples. In this studied the cultured method was better than the sieving method. | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมารแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2538 มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คุณภาพน้ำ | th_TH |
dc.subject | นิเวศวิทยาชายฝั่ง | th_TH |
dc.subject | น้ำทะเล (บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การศึกษา Cysts อันอาจเป็นสาเหตุของการเกิดปรากฎการณ์น้ำเปลี่ยนสีบริเวณชายฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Studies on cysts : possible clues ot red tide phenomena aloug the Eastern Coast of Thailand | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2539 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
viewobj (2) | 9.12 MB | Unknown | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น