กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/841
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิศิษฎ์ ตันหยงth
dc.contributor.authorเกศรินทร์ ชัยศิริth
dc.contributor.authorมุฑิตา ยืนวงศ์th
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ ธีรธรรมากรth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:46Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:46Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/841
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง เพื่อหาความสัมพันธุ์ระหว่างปัจจัยด้านคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร์ การใช้ยาเดี่ยว การใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน และการปรับขนาดตามคำแนะนำของเภสัชกรกับ ช่วงระดับยาในเลือดและความถี่ของการเจาะเลือดเพื่อวัดระดับยาซ้ำ จากการศึกษาข้อมูลเวชระเบียนของผู้ป่วย ฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์และประวัติการรับบริการ ณ หน่วย ตรวจวัดระดับยาในเลือดโรงพยาบาลชลบุรี จำนวน 2,177 ชุดข้อมูล นำมาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธุ์ระหว่างปัจจัยโดยใช้สถิติ x2-test ซึ่งกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ p-value <0.05 โดยพบว่าจากชุดข้อมูลทั้งหมดพบว่าระดับยาในเลือดของผู้ป่วยในทุกช่วงอายุ อยู่นอกช่วงอายุ อยู่นอกช่วงการรักษา โดยต่ำกว่าช่วงการักษาร้อยละ 65.6 และปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับยาในเลือดทำให้อยู่นอกช่วงของการรักษา โดยต่ำกว่าช่วงการรักษา ได้แก่ การใช้ยาเดี่ยว (p-value < 0.032) และพฤติกรรมทางเภสัชจลนศาสตร์แบบไม่เป็นเชิงเส้นตรง (p-value< 0.001) ส่วนปัจจัยการใช้ยาเดี่ยว (p-value < 0.001) นั้นเป็นเพียงปัจจัยเดียวที่ส่งผลลดการเจาะวัดระดับยาในเลือดซ้ำ แต่อย่างไรก็ตามการปรับขนาดยาคำแนะนำของเภสัชกรส่งผลให้ระดับยาในเลือดอยู่ในช่วงของการรักษาและลดความถี่ของการเจาะวัดระดับยาในเลือดซ้ำได้ถึงร้อยละ 81.4 และ 82.4 ตามลำดับแม้จะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติก็ตาม This study was retrospective descriptive study; aims of this study need to be verified the correlations between Pharmacokinetic profiles, Monotherapy dosing regimen, Polytherapy dosing regimen and dosage adjustment following as the pharmacist’s recommendation with number of serum drugs concentration that achieved normal therapeutic level and frequency of blood resampling. Data is collected from computerized system of TDM-services unit and medical records database at Chonburi provincial hospital; 2,177 datasets are collected and analyzed. The correlation analysis is used x2-test by defined the statistical significant level at p-value <0.05. This study has found that the number of serum concentrations in all age groups were lower than normal therapeutic index by 65.6%. Monotherapy dosing the number of serum concentrations that out of the normal therapeutic range, which is statistically significant at p-value < 0.032 and 0.001 in respectively. Not only monotherapy dosing regimen is correlated to increasing the number of out therapeutic index but also has statistical significant to reduced frequency of blood resampling at p-value< 0.001. The interestingly in this study also found that whereas the dosage adjustment that following as pharmacist’s recommendation doesn’t has statistical significant in any correlations of those but the result has found that its can be reduced the frequency of blood resampling by 81.4% and increased the number of serum drugs concentration that achieved normal therapeutic in dex by 82.4%.th_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectระดับยาในเลือดth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการศึกษาแบบย้อนหลังเชิงพรรณนา 11 ปี ในภาพรวมของผลการตรวจวัดระดับยาในเลือดth_TH
dc.title.alternativeA descriptive overview of therapeutic drug monitoring services, an 11-years retrospective studyen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2555
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น