กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8091
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเอกพงษ์ สุวัฒนมาลา
dc.contributor.authorคำรณ เจริญมาก
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:54:28Z
dc.date.available2023-05-12T06:54:28Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8091
dc.descriptionงานนิพนธ์(วท.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1 ) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมี 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทั้งก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมี และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมี กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 46 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ของโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา โดยการเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมีแบบทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดความพึงพอใจต่อบทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมี ผลการวิจัยสรุปได้ว่า บทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมีมีค่าประสิทธิภาพ (E1 /E2 ) เท่ากับ 91.04/86.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน (𝑥̅= 17.20, S.D. = 1.70) สูงกว่าก่อนเรียน (𝑥̅= 4.96, S.D. = 1.83) ด้วยบทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน E-Learning เรื่อง สมดุลเคมีอยู่ในระดับมาก (𝑥̅= 3.89, S.D. = 0.63)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการพัฒนาการศึกษา -- ไทย -- ฉะเชิงเทรา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา
dc.titleการพัฒนาบทเรียน E-learning เรื่องสมดุลเคมีสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเซนต์หลุยส์ฉะเชิงเทรา
dc.title.alternativeDevelopment of E-lerning on chemicl equilibrium for mthyomsuks 5 students in sint louis school chchoengso
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research were to 1) develop and find out of efficiency of E-Learning on chemical equilibrium 2) compare learning achievement of the students both before and after with the implementation of E-Learning on chemical equilibrium and 3) study the student 's satisfaction towards E-Learning on chemical equilibrium. The sample group were 46 students, purposively selected from the populations of mathayomsuksa5 students studied at Saint Louis school in the first semester of 2015 academic year. The research tools consisted of E-Learning on chemical equilibrium, learning achievement test and satisfaction survey form towards E-Learning on chemical equilibrium. The research findings indicated that the efficiency (E1 /E2 ) of E-Learning on chemical equilibrium was founded at 91.04/86.00, which was higher than the specified criterion. The learning achievement of the students after the implementation (𝑥̅= 17.20, S.D. = 1.70) was higher than before the implementation (𝑥̅= 4.96, S.D. = 1.83) of E-Learning on chemical equilibrium at 0.05 level of significance, and the student’s satisfaction towards E-Learning was in high level (𝑥̅= 3.89, S.D. =0.63).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเคมีศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.32 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น