กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8085
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสิริกรานต์ จันทเปรมจิตต์
dc.contributor.advisorปรัชญา แก้วแก่น
dc.contributor.advisorสุชาดา กรเพชรปาณี
dc.contributor.authorจิระนันท์ อนันต์ไทย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned2023-05-12T06:54:26Z
dc.date.available2023-05-12T06:54:26Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8085
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์(ปร ด)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบกิจกรรมการทดลองการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น และศึกษาอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลเชิงพฤติกรรมและคลื่นไฟฟ้าสมองขณะทำกิจกรรมการมองรูปภาพ จำแนกตามเพศและบุคลิกภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 80 คน ที่กำลังเรียนอยู่ในปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการทดลองการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล เครื่องบันทึกไฟฟ้าสมองระบบ Neuroscan และมาตรวัดอารมณ์ความรู้สึก (SAM) วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. กิจกรรมการทดลองการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพลในผู้ใหญ่ตอนต้น ประกอบด้วย กิจกรรม 3 ชุด ตามลักษณะอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล คือ เฉย ๆ ไม่กลัว และ กลัว 2. ผลการวัดด้านพฤติกรรม แสดงให้เห็นว่า การมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ในลักษณะกลัว มีค่าเฉลี่ยคะแนนแตกต่างกันระหว่างบุคลิกภาพแบบเปิดเผยและแบบกลาง ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการวัดด้านคลื่นไฟฟ้าสมอง พบว่า ขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ในลักษณะไม่กลัว คลื่นไฟฟ้าสมอง P100 มีความแตกต่างกันระหว่างบุคลิกภาพเปิดเผยและแบบ กลาง ๆ ที่ตำแหน่ง FC4 ในขณะที่คลื่นไฟฟ้าสมอง N170 พบความแตกต่างระหว่างเพศชายและ เพศหญิง ที่ตำแหน่ง PO7 ส่วนการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล ในลักษณะกลัว พบความแตกต่างของของคลื่นไฟฟ้าสมอง P100 ที่ตำแหน่ง O1 ในขณะที่ทั้งคลื่นไฟฟ้าสมอง N170 พบความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิง ที่ตำแหน่ง FCz
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectอารมณ์
dc.subjectอารมณ์ในผู้สูงอายุ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.titleผลของความแตกต่างทางเพศและบุคลิกภาพในผู้ใหญ่ตอนต้นที่มีต่อรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านการมีอิทธิพล : การศึกษาเชิงพฤติกรรมและคลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์
dc.title.alternativeThe effect of gender nd personlity differences in young dults on the emotionl dominnce of pictures: behviorl nd event-relted potentil study
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to design the dominance emotional pictures activities in young adults and investigate the emotional dominance in terms of behavioral and brain wave patterns, as they responded to the activities, classified by gender and personality. The participants were 80 undergraduate students in 2017 academic year from Burapha University. The research instruments were the dominance emotional pictures activities, the EEG Neuroscan systems, and Self-Assessment Manikin (SAM). Data were analyzed using mean, standard deviation, and 2-way ANOVA. The results demonstrated that: 1. The dominance emotional pictures activities consisted of three activities depend on the emotional dominance, including, neutral, control and uncontrol. 2. The behavioral evaluation revealed that there was difference in the average scores of emotional dominance on uncontrol between extravert and ambivert (p < .05). 3. The electroencephalography data revealed that during they responded to the emotional dominance pictures on Control, there were differences in P100 brainwave at FC4 position between extravert and ambivert whereas in N170 brainwave there were differences at PO7 positions between genders. In addition, the emotional dominance pictures on Uncontrol, found in P100 between personality brainwave there were differences at O1 position between in both gender whereas in N170 brainwave at FCz position.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf13.76 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น