กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8075
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.advisorชนวัฒน์ ตันติวรานุรักษ์
dc.contributor.authorสุภาพร สังข์งาม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:54:25Z
dc.date.available2023-05-12T06:54:25Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8075
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาทักษะการสื่อสารและความพึงพอใจเรื่องระบบหมุนเวียนเลือดระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติโดยมีกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผน เรียนสายวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์โรงเรียนกระทุ่มแบน “วิเศษสมุคุณ” จังหวัดสมุทรสาคร รวม 78 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาแบบทดสอบวัดทักษะการสื่อสารและ แบบสอบถามความพึงพอใจเรื่องระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ ANCOVA และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกันของนักเรียนหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD สูงกว่ากับการจัดการเรียนรู้รูปแบบปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ทักษะการสื่อสารของนักเรียนหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD สูงกว่ากับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD สูงกว่ากับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectการจัดการเรียนการสอน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาชีววิทยา
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการสื่อสารในวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
dc.title.alternativeThe effect of coopertive lerningstudent tem chievement division technique developmentchievement nd communiction skill in biology of mtthyom 5 student
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare analysis achievement communication skill and satisfaction in topic of blood circulation system lymphatic system and the immune system of matthayom 5 student between experiment group learned through cooperative learning student team achievement division technique (STAD) and control group learned through conventional teaching model. The target group was M.5 with the total of 78 who enrolled in Science Math program of Krathumbaen wisetsamutthakhum School Sumut Sakhon province. They were randomly selected for participating in the experiment using cluster random sampling method. The research instruments consisted of lesson plans cooperative learning student team achievement division technique (STAD), lesson plans conventional teaching model, biology learning achievement test, communication skill test and satisfaction evaluation questionnaires. The data were analyzed by ANCOVA and Independent t-test. The research findings were as following. 1. Achievement in topic of blood circulation system lymphatic system of matthayom 5 student who in cooperative learning student team achievement division technique (STAD) higher than those who learned through conventional teaching model at .05 level of significance.. 2. Communication skill in cooperative learning student team achievement division technique (STAD) higher than those who learned through conventional teaching model at .05 level of significance.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineชีววิทยา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.68 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น