กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8069
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปริญญา ทองสอน | |
dc.contributor.advisor | ชูชาติ พิณพาทย์ | |
dc.contributor.author | หทัยภัทร ศุภคุณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:54:22Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:54:22Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8069 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ และศึกษาเจตคติต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุด รูปแบบที่ใช้ในการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) โดยแบบแผนการทดลองที่ใช้คือ แบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One group pretest-posttest design) กลุ่มประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) จำนวน 11 ห้องเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 1 ห้องเรียน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster sampling) จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ จำนวน 10 แผน 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินทักษะการปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น 4) แบบวัดเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้การปฏิบัติของชุดเบื้องต้น สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น พบว่า มีค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนทักษะปฏิบัติอยู่ที่ 89.17 3. เจตคติของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น มีค่าเฉลี่ยคะแนนเจตคติที่ดีอยู่ที่ 4.25 มีค่าความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | กลอง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน | |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้นโดยใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) | |
dc.title.alternative | Effects of using dvie’s instructionl model on drum set skill for mtthyomsuks three students t bnsunjnnu sorn school | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to study the distinction of practical skills and attitudes towards drum set between pre-test and post-test groups. The model used in this research is the quasi-experimental procedure. The experimental design used was a one-group pre-test post-test design. The population consists of matthayomsuksa three students from bansuanjananusorn school, 11 classes, first semester of academic year 2018. The control group was 1 class, acquired by cluster sampling from a total of 20 students. The instruments were 10 lesson plans, achievement measurement, practice drum set skill measurement and attitude toward practice drum set measurement. The data were analyzed by mean, standard deviation and t – test for dependent samples. The results of the study were: 1. The training activities resulted in a post-test improvement at a 05 level of significance. 2. The average score no drum set skill is 89.17 % 3. The attitude of the test group towards drum set training resulted in an average score of 4.25, which is at a higher level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.77 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น