กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/804
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ตติรัตน์ สุวรรณสุจริต | |
dc.contributor.author | พิริยา ศุภศรี | |
dc.contributor.author | สุวรรณี มหากายนันท์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:53:11Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:53:11Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/804 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาการรับรู้สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประชากร คือ นิสิตพยาบาลชั้นปีที่ 4 หลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ที่สำเร็จการศึกาในปีการศึกษา 2548 การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยตอบแบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งที่ผู้วิจัยดัดแปลงการประเมินสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของสภาการพยาบาล มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .84 ผลการศึกษาพบว่า นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งที้ง 14 ด้านโดยรวมอยู่ในระดับสูง(xˉ = 3.78, SD = .35) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระดับสูงมี 12 ด้าน โดยด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ สมรรถนะด้านพัฒนาวิชาชีพให้มีความเจริญก้าวหน้าและมีศักด์ศรี(xˉ =4.37,SD = .54) รองลงมาคือสมรรถนะด้านการปฏิบัติงานการพยาบาลและผดุงครรภ์ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยคำนึงถึงสิทธิมนุษยชน (xˉ = 4.19, SD =.52) ส่วนสมรรถนะหลักด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางมี 2 ด้าน คือ สมรรถนะฟื้นฟูสภาพบุคคล กลุ่มคน และชุมชนทั้งด้านร่างกานและจิตสังคม เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเต็มศักยภาพ (xˉ = 3.50, SD = .49) และสมรรถนะด้านการติดต่อสื่อสารกับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (xˉ =3.41, SD = .54) รวมทั้งยังพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของนิสิตพยาบาล ดังนั้นจึงควรพัฒนาสมรรถนะของนิสิตพยาบาลด้านการติดต่อสื่อสารกับบุคล ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชน โดยเฉพาะการใช้ภาษาอังกฤาและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารเพื่อให้นิสิตพยาบาลมีสมรรถนะที่สูงขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ผดุงครรภ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | th_TH |
dc.subject | สมรรถนะ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | การรับรู้สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Core competency perception for registered nurses and midwives of nursing students, faculty of Nursing Burapha University | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2550 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this descriptive research was to examine the perception of core competency for registered nurses and midwives of nursing students. Faculty of Nursing Burapha University. The study population was the fourth-year nursing student who graduated in the academic year 2005. Data were collected using guestionnaire of core competency perception for registered nurse midwives, which was adapted by the researcher from the core competency assessment form for registered nurses and midwives of the Nursing Council of Thailand. The Cronbach’s alpha reliability coefficient was .84. The study results revealed that mean of total scores of 14 aspects of the core competency perception of nursing students of the Faculty of Nursing Burapha University was high (xˉ = 3.78, SD = .35). Considering each aspect of the perception, there were means of the 12 aspect with high perception scores. Mean of the competency aspect of professional development and dignity was the highest (xˉ =4.37,SD = .54) and the next was aspect of competency on practices of nursing and midwives according to professional convention (xˉ = 4.19, SD =.52). Means of 2aspect were medium perception score, They included an aspect of rehabilitation on physical and psycosocial of person, aggregated group and community in order to live optimal Potential (xˉ = 3.50, SD = .49) and an aspect of the effective communication for interpersonal, family, aggregated group and community (xˉ =3.41, SD = .54). In addition, there was no significant association between academic achievement and the core competency perception for registered nurses and midwives of nursing students. This study suggests that competencies of interpersonal, group, family and community communication of nursing students of nursing should be enchanced and improved especially, English and information technology communication in that the students would have higher competencies. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_044.pdf | 2.97 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น