กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7983
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปริญญา เรืองทิพย์
dc.contributor.advisorปรัชญา แก้วแก่น
dc.contributor.authorวราลักษณ์ ดลประสิทธิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned2023-05-12T06:25:26Z
dc.date.available2023-05-12T06:25:26Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7983
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอารมณ์ความรู้สึกของนักเรียนจำแนกตามเพศขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ความรู้สึก เพื่อเปรียบเทียบอารมณ์ความรู้สึกของนักเรียนระหว่างนักเรียนปกติกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ความรู้สึก และเพื่อทดสอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศกับความสามารถในการเรียนรู้ต่ออารมณ์ความรู้สึกของนักเรียนขณะมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ความรู้สึกด้านความประทับใจ ด้านการตื่นตัว และด้านการมีอิทธิพล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 ปีการศึกษา 2561จำนวน 120 คน (นักเรียนปกติ 60 คน นักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ 60 คน) ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ 1) แบบคัดกรองกรองบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (มัธยมศึกษา) 2) ชุดของรูปภาพที่สื่อความหมายทางด้านอารมณ์ความรู้สึกในบริบทคนไทย และ 3) มาตรวัดอารมณ์ความรู้สึก SAM Thai วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสถิติพื้นฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ผลการวิจัย ปรากฏว่า 1. นักเรียนจำแนกตามเพศปรากฏว่า ในอารมณ์ความรู้สึกด้านความประทับใจ มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านการตื่นตัวและด้านการมีอิทธิพล ไม่แตกต่างกัน 2. นักเรียนจำแนกตามกลุ่มความสามารถในการเรียนรู้ระหว่างนักเรียนปกติกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ปรากฏว่า อารมณ์ความรู้สึกด้านความประทับใจ ด้านการตื่นตัว และด้านการมีอิทธิพล มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศกับกลุ่มความสามารถในการเรียนรู้พบว่าด้านความประทับใจ มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านการตื่นตัว และด้านการมีอิทธิพลไม่มีความแตกต่างกัน
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectอารมณ์
dc.subjectความรู้สึก
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.titleการเปรียบเทียบผลของการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ต่อความรู้สึกระหว่างนักเรียนปกติกับนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้
dc.title.alternativeComprison of looking t emotionl pictures on emotion between students with nd without lerning disbilities
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to compare the emotion of students by gender while looking at the emotional pictures, to compare the emotions between normal students and students with learning disabilities, and to test an interaction effect between gender and the learning ability on emotions of the student while looking at pictures eliciting the valence, arousal, and dominance emotions. The sample consisted of 120 junior high school students in Sriboonrueng District (60 healthy students and 60 students with learning disabilities), selected by using purposive sampling. The study involved 1) a screening process for the students with learning disabilities (secondary), 2) pictures of emotions from the Thai Affective Picture Bank System, 3) the Thai version of Self-Assessment Manikin (SAM Thai). Descriptive statistics and two-way MANOVA were used to analyze the data. It was found that: 1. There was a statistically-significantly gender difference on valence (p<.05), but not on the arousal and dominance emotions. 2. When comparing normal and learning-disabled students, significant differences (.01 level) were found on all three emotions: valence, arousal, and dominance. 3. There was an interaction effect between gender and learning ability on the valence emotion (p<.01), but not on the arousal and dominance emotions.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf5.01 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น