กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7981
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรัชญา แก้วแก่น | |
dc.contributor.advisor | ศราวิน เทพสถิตย์ภรณ์ | |
dc.contributor.author | กนกวรรณ แรงราย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:25:26Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:25:26Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7981 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | อาการชาปลายเท้าเป็นอาการทางคลินิกที่พบได้ในผู้ป่วยเบาหวาน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์และสร้างโปรแกรมการนวดกดจุดสะท้อนเท้า และเพื่อศึกษาผลการนำโปรแกรมการนวดกดจุดสะท้อนเท้าไปใช้ในการลดอาการชาปลายเท้าเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับอาการชาระดับ 1 คือ มีความเสี่ยงปานกลาง กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการอาสาสมัครจากตำบลวังทอง อำเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว โดยสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละเท่าๆ กัน โดยกลุ่มทดลองใช้โปรแกรมการนวดกดจุดสะท้อนเท้าร่วมกับการรับประทานวิตามินบีรวม ผลการวิจัย ปรากฏว่า 1. กลุ่มทดลองหลังใช้โปรแกรมการนวดกดจุดสะท้อนเท้า มีจำนวนตำแหน่งที่รับ ความรู้สึกที่เท้าเพิ่มขึ้นสูงกว่าก่อนการใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ก่อนการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีระดับอาการชาแตกต่างกัน แต่ หลังการทดลองปรากฏว่าผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีจำนวนตำแหน่งที่รับความรู้สึกที่เท้าเพิ่มขึ้นทั้งสองกลุ่ม แต่ในกลุ่มทดลองมีแนวโน้มไปในทางที่ดีกว่ากลุ่มควบคุม 3. อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ในช่วงก่อนการทดลองกับหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 4 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 (ค่า F ก่อนการทดลอง = 21.620 และหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 4 = 7.307) ส่วนระหว่างการทดลองในสัปดาห์ที่ 1, 2 และ 3 ไม่แตกต่างกัน ดังนั้นโปรแกรมการนวดกดจุดสะท้อนเท้าสามารถลดอาการชาปลายเท้าเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ | |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.subject | การกดจุด | |
dc.subject | การนวดกดจุดสะท้อน | |
dc.subject | ผู้ป่วยเบาหวาน | |
dc.title | โปรแกรมการนวดกดจุดสะท้อนเท้าเพื่อลดอาการชาปลายเท้าในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 | |
dc.title.alternative | Foot reflexology progrm for decrese dibetic neuropthy in dibetes mellitus type 2 ptient | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Neuropathy is a complicated clinical symptom, generally found in diabetic patients. The objectives of this research were to synthesize and design foot reflexology program, and implement a foot reflexology program for reducing diabetic neuropathy in patients with type 2 diabetes mellitus. The sample involved patients with type 2 diabetes mellitus with level 1; they were randomly divided into experimental and control groups. The foot reflexology program was used in conjunction with vitamin B complex intake. The research results was found that: 1. Experimental group after using reflexology program. There are a point of number that increase the feeling of the feet higher than before using the program. Statistically significant at the .05 level. 2. Prior to the experiment, the experimental group and the control group had different levels of neuropathy. However, after the experiment, type 2 diabetic patients had a higher number of foot sensation in both groups. However, the experimental group was better than the control group. 3. Patients with type 2 diabetes mellitus in the experimental group and the control group during the post-test period were significantly different at the .05 level (F pre-trial = 21.620, and after-trial 4th week = 7.307) And, no significant difference was observed between week 1, week 2 and 3. Therefore foot reflexology programs can reduce diabetic neuropathy effectiveness after trial in Week 4. In conclusion, a foot reflexology program can reduce diabetic neuropathy in patients with type 2 diabetes mellitus. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.82 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น