กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7966
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรักพร ดอกจันทร์
dc.contributor.authorชวลิต ด้วงเหมือน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:15:02Z
dc.date.available2023-05-12T06:15:02Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7966
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกลบ คูณ หารระคน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการใช้แผนภาพกับเกณฑ์ร้อยละ 60 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกลบ คูณ หารระคน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการใช้แผนภาพกับเกณฑ์ร้อยละ 60 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ซึ่งคะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ในการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ขณะที่เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของ โรงเรียนบ้านบ่อผุด โดยให้นักเรียนสมัครใจมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบทดสอบวัดทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องโจทย์ปัญหาการบวกลบ คูณ หารระคน ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาเรื่องโจทย์ปัญหาการบวกลบ คูณ หารระคน ไม่ต่ำกวาเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการหาร
dc.subjectการคูณ
dc.subjectการบวก
dc.subjectการลบ
dc.subjectScience and Technology
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการใช้แผนภาพที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
dc.title.alternativeThe effect of mthemtics lerning on ddition subtrction multipliction nd division problem using kwdl technique with digrm method on mthemtics lerning chievement nd problem solving skills for prthomsuks 4 students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) compare the mathematical learning achievement on Addition Subtraction Multiplication and Division Problem using KWDL technique with Diagram method with 60 percent criterion 2) compare the mathematical problem solving skills on Addition Subtraction Multiplication and Division Problem using KWDL technique with Diagram method with 60 percent criterion 3) study students’ satisfaction towards the mathematical learning management. The sample for this research consisted of 25 prathomsuksa 4 students studied in the first semester of 2018 academic year who had the learning achievement on Addition Subtraction Multiplication and Division Problem less than 60 percent of criteria score while they were prathomsuksa 3 students of Baanbophut School using the volunteer method. The research instruments were the learning management plans on Addition Subtraction Multiplication and Division Problem, the mathematical learning achievement test, the mathematical problem solving skills test and the students’ satisfaction questionnaire. The research revealed that 1) the learning achievement on Addition Subtraction Multiplication and Division Problem was not less than 60 percent criterion statistically significant at .05 level 2) theproblem solving skills on Addition Subtraction Multiplication and Division Problem was not less than 60 percent criterion statistically significant at .05 level and 3) the students’ satisfaction towards the mathematical learning management were at a high agreement level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineคณิตศาสตร์ศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.93 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น