กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7961
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาภาพร บุญมี | |
dc.contributor.advisor | กิตติยา เชียร์แมน | |
dc.contributor.advisor | สุทิน กิ่งทอง | |
dc.contributor.author | ชนพพล กลิ่นกลบ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:15:00Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:15:00Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7961 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารประกอบบิวทิลทิน (butyltin compounds; BTs) ที่ประกอบด้วยไตรบิวทิลทิน (tributyltin; TBT) ไดบิวทิลทิน (dibutyltin; DBT) และโมโนบิวทิลทิน (monobutytin; MBT) ในหอยแมลงภู่ชนิด Perna viridis ในบริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศไทย เพื่อศึกษาแนวโน้มการปนเปื้อนสารประกอบบิวทิลทินในประเทศไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบันว่า มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยทำการเก็บตัวอย่างหอยแมลงภู่และทำให้แห้งเพื่อนำไปวิเคราะห์หาปริมาณการสะสมของสารประกอบบิวทิลทินในเนื้อเยื่อ โดยใช้เทคนิคนิคการสกัดแบบ solid-liquid extraction (SLE) และใช้ sodium tetraethylborate (NaB(Et)4 ) เป็นตัวทำปฏิกิริยาเพื่อให้เกิดอนุพันธ์ของสารประกอบบิวทิลทิน และวิเคราะห์ปริมาณสารที่พบด้วยเครื่อง gas chromatography-mass spectrometry (GC-MS) ผลการศึกษาพบว่า ผลรวมของสารประกอบบิวทิลทินอยู่ระหว่าง 0.97 -262.17 ng/g ของน้ำหนักแห้งแบ่งเป็นอนุพันธ์ไตรบิวทิลทิน ไดบิวทิลทิน และโมโนบิวทิลทินอยู่ระหว่าง 0.68 -4.49, 0.95 -262.17 และ 1.85 ng/g dry wt. ตามลำดับ โดยพบการปนเปื้อนของอนุพันธ์ไดบิวทิลทินในเนื้อเยื่อสูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาครั้งนี้กับอดีตซึ่งเคยมีรายงานการปนเปื้อนของสารประกอบบิวทิลทินในหอยแมลงภู่ในปี พ.ศ. 2537- 2538 พบว่า แนวโน้มการปนเปื้อนลดลงและพบว่า สารประกอบบิวทิลทินมีอัตราการสลายตัว (butyltin degradation index; BDI) สูงขึ้น ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับรายงานการศึกษาในหลายภูมิภาคอื่นที่มีแนวโน้มอัตราการสลายตัวเพิ่มขึ้นแต่อย่างไรก็ดียังสามารถตรวจพบการสะสมของสารประกอบบิวทิลทินในเนื้อเยื่อสัตว์ทะเลบริเวณชายฝั่งในบางภูมิภาคของโลกในปริมาณที่สูง ดังนั้นจึงควรมีการติดตามตรวจสอบต่อไปในอนาคต | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | บิวทิลทิน | |
dc.subject | โมโนบิวทิลทิน | |
dc.subject | ไตรบิวทิลทิน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | |
dc.subject | Science and Technology | |
dc.subject | ไดบิวทิลทิน | |
dc.title | การตรวจวัดการปนเปื้อนของสารประกอบบิวทิลทิน (BTs) ในหอยแมลงภู่ชนิด Perna viridis บริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศไทย | |
dc.title.alternative | Mesurement of butyltin compounds (bts) contmintion in green mussel (pern viridis) from thilnd’s costs | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The main objectives of this research was to measure contaminations of butyltin compounds (BTs) include tributyltin (TBT), dibutyltin (DBT) and monobutytin (MBT) in mussel, Perna viridis in the coasts of Thailand. This work also wanted to monitor situation of BTs contamination which could represent current trend of usage and bioaccumulation in the country. Green mussels were collected and freeze dried in order to analyze BTs concentration in tissue. BTs were extracted by solid-liquid extraction technique (SLE) and derivatized with sodium tetraethylborate (NaB(Et)4 ) followed by gas chromatography-mass spectrometry (GC-MS) analysis. Results showed that BTs concentration were in range of 0.97 – 262.17 ng/g dry weight. These included TBT, DBT and MBT in ranges of 0.68 – 4.49, 0.95 – 262.17 and 1.85 ng/g dry weight, respectively. DBT was the highest derivative found in mussel tissue. The current contamination levels in mussel tissue were decreased compared to the contamination in 1994- 1995. The results also showed that butyltin degradation index (BDI) is increasing. This finding is similar to current reports from all over the world which indicating that BTs degradation is increasing. However, high levelsof BTs bioaccumulation in marine organisms of some regions are still detected. Therefore, monitoring is still required in the future. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.44 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น