กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7941
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอรรัมภา ไวยมุกข์
dc.contributor.authorกุลปาลี ตะโหนดแก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:14:56Z
dc.date.available2023-05-12T06:14:56Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7941
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาถึงการเยียวยาความเสียหายในคดีสิ่งแวดล้อมในความเสียหายต่อชีวิตร่างกายอนามัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยรวมไปถึงองค์กรผู้มีอํานาจหน้าที่ในการการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อการช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหายดังกล่าว โดยศึกษาตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รวมไปถึงกองทุนสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องที่พบว่ายังไม่อาจเข้าช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหายที่ได้รับความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากความเสียหายที่กระทําต่อสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดผลเสียหายเป็นวงกว้างภาครัฐในฐานะรัฐสวัสดิการจึงควรมีบทบาทในการเข้าช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเสียหายก่อนและฟ้องร้องเรียกค่าสินไหมทดแทนความเสียหายจากผู้กระทําความผิดในภายหลัง จากการศึกษาพบว่า ปัจจุบันเมื่อเกิดการกระทําความผิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมแล้วการเยียวยาความเสียหายตามกฎหมาย เมื่อเกิดความเสียหายจากกับผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 มาตรา 96 พบว่ายังไม่มีกฎหมายที่จะช่วยเหลือประชาชนสําหรับค่าปลงศพ ค่ารักษาพยาบาล หรือค่าอุปการะเลี้ยงดู ซึ่งหากผู้เสียหายจะได้รับเงินต่าง ๆ ดังกล่าวจําเป็นต้องนําคดีขึ้นสู่ศาลจนกว่าจะชนะคดีซึ่งทําให้เกิด ความล่าช้าและเป็นปัญหาค่าใช้จ่ายที่ผู้เสียหายต้องจ่ายในค่ารักษาพยาบาล ค่าดําเนินการเกี่ยวกับการฟ้องคดี และอื่น ๆ ซึ่งผู้วิจัยได้วิจัยเปรียบเทียบกับกฎหมายในประเทศญี่ปุ่นที่มุ่งเน้นเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากมลพิษโดยไม่ต้องฟ้องคดีเพียงแต่ได้รับการรับรองจากเจ้าหน้าที่เท่านั้น ผู้วิจัยจึงเสนอแนะให้แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 โดยกําหนดถึงเรื่องการเยียวยาความเสียหายในคดีสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการกําหนด อํานาจหน้าที่ให้หน่วยงานราชการในการรับรองผู้เสียหายที่จะได้รับการเยียวยาความเสียหายตามกฎหมาย การกําหนดขอบเขต และการกําหนดที่มาของกองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในเรื่องดังกล่าวเป็นการเฉพาะ โดยเปรียบเทียบกับกฎหมายเยียวยาความเสียหายจากมลพิษของประเทศญี่ปุ่นเพื่อการพัฒนากฎหมายในประเทศไทยที่กําลังเกิดเผชิญกับปัญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อมมากขึ้นในปัจจุบัน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectกฎหมายสิ่งแวดล้อม
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.subjectการเยียวยา (กฎหมาย)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายมหาชน
dc.titleปัญหาการเยียวยาเบื้องต้นในคดีสิ่งแวดล้อม
dc.title.alternativeThe problem of preliminry remedies in environmentl lwsuit
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis thesis examined the remedies of damage of environmental lawsuit in terms of damage of life, body, and health in Thailand as well as the organizations which have responsibilities for helping such victims. This study was conducted according Promotion and Conservation of National Environmental Quality Act, B.E. 2535, environmental funds and related government agencies and it found that it was unable to efficiently assist the victims of the damage to their live, bodies, and health because the damage from acting to environment createed of widespread impacts. Government, as a welfare state, should play a role in assisting people who have received damaged before and claiming damages from the offender later. The results from study identified that, currently, when environmental offenses were committed, the remedies of damage following the legal to the people, who received impacts from pollution according to the Promotion and Conservation of National Environmental Quality Act, B.E. 2535, section 96, did not have law to help the them for expenditures for cremation, medicals treatment, and alimony. If the victims would like to have such money, the cases of them had to submit to court until they recovered the cases. It caused of resulting in a delay and a costly problem that the victim has to pay for medicals and cost of implementation in lawsuits and other related expenditures. The researcher has compared to Japan law focusing on remedying of pollution damage without the lawsuit processes but having certified by the only authorities. Researchers recommend to additional amendment the Promotion and Conservation of National Environmental Quality Act, B.E. 2535 with regard to topics of damage remedy of environmental cases and also assigning authority to a government agency to certify the injured person to receive the damage remedy according by legal, as well as to identify of boundaries and sources of environmental funds which are specific for remedy issues by comparing with Japan's legal about remedy of damage from pollution for development of Thailand’s law which is more encountering with pollution problems from the environment today.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายมหาชน
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf596.83 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น