กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7937
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนี แตงอ่อน | |
dc.contributor.author | ฤชากร แย้มกลิ่นพุฒ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:14:55Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:14:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7937 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | ปัจจุบันประเทศไทยไม่มีกฎหมายฉบับใดรองรับเกี่ยวกับกรณีภรรยาฆ่าสามีอันเนื่องมาจากถูกกระทําความรุนแรงในครอบครัวเนื่องจากอาการ “Battered Woman Syndrome” หรือ BWS โดยกระบวนการยุติธรรมของไทยยังไม่ยอมรับเอาอาการดังกล่าวเข้ามาพิจารณาในคดี ดังนั้นภรรยาจะมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288 หรือ มาตรา 289 เห็นว่าไม่เป็นการยุติธรรมสําหรับภรรยาเท่าใดนัก ซึ่งคําว่า “Battered Woman Syndrome” หรือ BWS หมายถึง สภาวะความตึงเครียดที่เกิดขึ้นภายหลังการถูกทารุณกรรม เป็นรูปแบบหรือสถานการณ์ที่ใช้กับผู้หญิงที่ถูกคู่รักหรือสามีทําร้ายซ้ำแล้วซ้ำอีก จนเกิดความกดดันความเครียดสั่งสมจากความรุนแรงเป็นระยะเวลายาวนาน ส่งผลกระทบต่อจิตใจของหญิงนั้น จนกระทั่งได้ตอบโต้กลับด้วยความรุนแรง แม้ประเทศไทยจะมีพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 แต่ก็ไม่ครอบคลุมกรณีดังกล่าว ดังนั้นกระบวนการยุติธรรมของไทยต้องให้การยอมรับอาการ “Battered Woman Syndrome” หรือ BWS อย่างเป็นทางการเสียก่อน ประกอบกับควรมีกฎหมายบัญญัติเป็นพิเศษในการลงโทษภรรยาที่กระทําความผิดในลักษณะนี้ โดยมีมาตรการพิเศษในการเยียวยา บําบัด ฟื้นฟูภรรยาที่ฆ่าสามีในกรณีดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อความเหมาะสมและเป็นธรรม | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | กฎหมายอาญา | |
dc.subject | ความรุนแรงในครอบครัว | |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายในความรับผิดชอบทางอาญาของภรรยาที่ฆ่าสามีกรณี Battered wife syndrome (BWS) | |
dc.title.alternative | Legl mesures for criminl libility of the wife killed husbnd cse study of bttered wife syndrome (bws) | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | At the present time, Thailand has no law regarding the case concerning the wife who killed the husband on account of the domestic violence which led to “Battered Woman Syndrome” or BWS. In Thailand justice, such syndrome still has not acknowledged in the case proceedings. Therefore, the wife would be convicted of murdering according to section 288 or section 289 of the Criminal Code. The author considers that it is unfair for the wife. The word “Battered Woman Syndrome” or BWS means the pressure state which arising after the abuse and the type or the condition applying to the woman who was repeatedly battered by the lover or the husband which led to the pressure and the stress from long-term violence and then it impacted on the woman’s mind till such woman fought back violently. Although, there is the Victims of Domestic Violence Protection Act in Thailand B.E. 2550, this act does not include such case. The author suggests the official recognizance of the “Battered Woman Syndrome” or BWS in Thai justice and there shall be the law specifically prescribed to punish the wife committing the offence in the same kind with the special measure to remedy, cure and rehabilitate the wife who killed the husband in such case for the purpose of the appropriateness and the fairness. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | กฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น