กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7928
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธนวิน ทองแพง
dc.contributor.authorวิรุฬห์ มีภักดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:14:54Z
dc.date.available2023-05-12T06:14:54Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7928
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียน และ การเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนบ้านโคกสะอาด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ปีการศึกษา 2561 จำแนกตามเพศ และระดับชั้น กลุ่มตัวอย่างจำนวนรวม 54 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .23-.60 และค่า Alpha เท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่า (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธี Least significant difference (LSD) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพแวดล้อมทางการเรียนของ นักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสะอาด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 ของโรงเรียนบ้านโคกสะอาด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำแนก ตามเพศ โดยรวมพบว่า ด้านอาคารสถานที่ และด้านสังคมกลุ่มเพื่อน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านการเรียนการสอน ด้านให้บริการผู้เรียน ด้านการจัดการศึกษาเพื่อสนองความมุ่งหวังของผู้เรียน และด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ผลการเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 ของโรงเรียนบ้านโคกสะอาด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำแนก ตามระดับชั้นเรียน โดยรวม ด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน และด้านสังคมกลุ่มเพื่อน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านอาคารสถานที่ ด้านการเรียนการสอน ด้านให้บริการผู้เรียน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectสภาพแวดล้อมห้องเรียน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectสภาพแวดล้อมทางการเรียน
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.titleสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสะอาด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2
dc.title.alternativeLerning environment of the students in bn-koks-d school under burirm primyry eductionl service re office 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the learning environment of students and to compare the learning environment of the students in Ban-Koksa-Ad School under the Office of Buriram Primary Education Service Area 2, classified by gender and grade. 54 samples were selected by stratified random sampling. The instrument used in the study was a rating scale questionnaire which had the discriminating power between .23-.60 and the value of alpha equaled to .93. The statistics used in data analysis were percentage, mean ( ) standard deviation (SD), t-test and ANOVA. The differences in pairs were tested by using Last Significant Different (LSD) method. 1. The learning environment of students in Ban-Koksa-Ad School under the Office of Buriram Primary Education Service Area 2, overall and each aspect, was at a high level. 2. The comparison of the learning environment of students from grade 3-6 in Ban-Koksa-Ad School under the Office of Buriram Primary Education Service Area 2, classified by gender, as a whole, revealed that facility and friends were statistically significant differences at the level of .05. Teaching, service providing to learners, and educational administration to response to the learner’s expectation, and activities organization for learners were different insignificantly. 3. The comparison of the learning environment of students from grade 3-6 in Ban-Koksa-Ad School under the Office of Buriram Primary Education Service Area 2, classified by grade, as a whole, activities for learners and friends were statistically significant differences at the level of .05. Facilities, teaching, service providing to learners, and educational administration to response to the learner’s expectation was different insignificantly.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf884.5 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น