กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7919
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอุทิศ บำรุงชีพ
dc.contributor.advisorมณเทียร ชมดอกไม้
dc.contributor.authorยุวดี ชมชื่น
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:14:52Z
dc.date.available2023-05-12T06:14:52Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7919
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (กศ.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยประยุกต์วิธีการทางประวัติศาสตร์และการเรียนรู้แบบผสมผสาน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประวัติศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน 3) ศึกษาความสามารถในการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์และการใช้เทคโนโลยี และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ของโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์) จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประวัติศาสตร์ 2) แบบประเมินความสามารถในการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ 3) แบบประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ผลการวิจัย พบว่า 1. ได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยประยุกต์วิธีการทางประวัติศาสตร์และ การเรียนรู้แบบผสมผสาน เรียกว่า SIBERS ประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 เริ่มต้นการเรียนรู้ (Start) ขั้นที่ 2 เข้าสู่การปฏิสัมพันธ์กลุ่ม (Interaction) ขั้นที่ 3 ร่วมประชุมและทำงาน (Brainstorm) ขั้นที่ 4 เพิ่มประสบการณ์การเรียนรู้ (Experience) ขั้นที่ 5 สรุปสู่ความเข้าใจ (Resolution) ขั้นที่ 6 แบ่งปันความรู้ใหม่สู่ห้องเรียน (Share knowledge) ซึ่งผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับดี 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประวัติศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 4. ความสามารถในการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนอยู่ในระดับดีมากโดยได้ค่าเฉลี่ยร้อยละ 85.46 และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีจัดอยู่ในระดับมากที่สุด โดยได้ค่าเฉลี่ยร้อยละ 87.04 5. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยประยุกต์วิธีการทางประวัติศาสตร์และการเรียนรู้แบบผสมผสาน จัดอยู่ในระดับมากที่สุด
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)
dc.subjectการจัดการเรียนการสอน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยประยุกต์วิธีการทางประวัติศาสตร์และการเรียนรู้แบบผสมผสานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
dc.title.alternativeThe development of history lerning model through historicl method nd blened lerning for mtthyomsuks ii students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to develop a History Learning Management Model through Historical Method and Blended Learning for Matthayomsuksa II students, 2) to compare students’ learning achievement before and after their learning, 3) to study students’ competence of Historical Method and Technology application, and 4) to study students’ satisfaction level after studying through the History Learning Management Model. The sample was a group of 37 Matthayomsuksa II students studying in the second semester of the 2017 academic year at Wat Bangwua (Saisermwit) School, Chachoengsao province. The research instruments were; 1) Historical Learning achievement tests, 2) a Historical Method competency test, 3) a Technology application competency test, and 4) a Student’s satisfactory questionnaire. The findings of this research were as follows: 1. The History Learning Management Model through Historical Method and Blended Learning for Matthayomsuksa II students named SIBERS contains 6 stages 1) Start, 2) Interaction, 3) Brainstorm, 4) Experience, 5) Resolution, and 6) Share knowledge. The evaluation of the evaluated model was rated at a good level by the experts. 2. The average score of History Learning achievement of the students after learning was statistically significant higher than that one before the learning at the.01 level. 3. Students have the learning achievement score in History subject after learning higher than the required level of statistically significance.01 level. 4. Students’ competency score of Historical Method was at a high level which, the average score was 89.01 percent. Students’ competency score of Technology application was at a high level, which the average score was 87.05 percent. 5. Students’ satisfactory level of the History Learning Management Model through Historical Method and Blended Learning was at the highest level.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf8.13 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น