กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7905
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.authorธนัญฉัตร เอี่ยมเพ็ชร์
dc.contributor.otherคณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.date.accessioned2023-05-12T06:13:07Z
dc.date.available2023-05-12T06:13:07Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7905
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การ แรงจูงใจ ในการปฏิบิติงาน กับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุนของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 125 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร วัฒนธรรมองค์การของบุคลากร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อยู่ในระดับปานกลาง และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. วัฒนธรรมองค์การและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ในระดับปานกลางและค่อนข้างสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. วัฒนธรรมองค์การและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ด้านความต้องการความเจริญก้าวหน้า (X23) ด้านความต้องการด้านสัมพันธภาพ (X22) ด้านความต้องการในการดำรงชีวิต (X21) สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ร้อยละ 71.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ดังสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Y' = .831 + .328 (X23) + .261 (X22) + .169 (X21) Z' = .397 (Z23) + .347 (Z22) + .203 (Z21)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน
dc.subjectแรงจูงใจในการทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การ
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternativeThe reltionship between orgniztionl culture nd job motivtion nd qulity of work life of personl in fculty of humnities nd socil sciencies burph university
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the relation of organizational culture, job motivation and quality of work life of the Faculty of Humaninities and Social Sciences staff, Burapha University. The research sample consisted of instructors and supporting officers at the Faculty of Humaninities and Social Sciences, Burapha University. The statistics employed for data analysis were mean, standard diviation, Pearson correlation analysis, Multiple regression analysis and Correlation coefficient of Pearson to find predicting variables and formulate predicting equation in organizational and culture by Stepwise multiple regression analysis The research results were as follows; 1. The quality of work life of the Faculty of Humaninities and Social Sciences staff was at moderate to high level. The level of organizational culture of the Faculty of Humaninities and Social Sciences staff was at moderate level. The job motivation of the Faculty of Humaninities and Social Sciences staff was at medium level. 2. Organizational culture and job motivation were positive related with quality of work life at the 0.01 level of significance. 3. Organizational culture and job motivation affected the quality of work life of the staff in each and whole aspects at high level at the 0.01 level of significance. 4. The job motivation variable can predict the quality of work life of the Faculty of Humaninities and Social Sciences staff, Burapha University at 71.30 percentages the predicting equation or predicting equations were; Y' = .831 + .328 (X23) + .261 (X22) + .169 (X21) Z' = .397 (Z23) + .347 (Z22) + .203 (Z21)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf871.47 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น