กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7897
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสฎายุ ธีระวณิชตระกูล
dc.contributor.authorสุภัทสรานันท์ โพธิ์กัน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:13:05Z
dc.date.available2023-05-12T06:13:05Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7897
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลัก ธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 3 จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์การทำงาน และขนาดสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ รองผู้บริหาร/ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/ หัวหน้างาน และผู้ปฏิบัติการสอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 3 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 234 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 3 โดยรวมและรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ หลักการมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส และหลักความรับผิดชอบ 2. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 3 จำแนกตามตำแหน่ง พบว่า โดยรวม แตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความรับผิดชอบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยตำแหน่งรองผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้และหัวหน้างาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลัก ธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสูงกว่าผู้ปฏิบัติการสอน เมื่อจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจำแนกตาม ขนาดสถานศึกษา พบว่า โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ด้านหลักนิติธรรม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectธรรมรัฐ
dc.subjectการศึกษาขั้นมัธยม -- การบริหาร
dc.titleการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 3
dc.title.alternativeThe dministrtion promoting good governnce exercised by school dministrtors in schools under the secondry eductionl service re office 1, group 3
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study and compare ways school administrators exercise their good governance at schools under the Secondary Educational Service Area Office 1 Group 3 as classified by position, working experience, and size of school. The sample used in this study was 234 administrators working in the Secondary Educational Service Area Office 1 Group 3 in 2018. The data collection instrument used in this research were a five-point rating scale questionnaire. The statistics used to analyze the data were Percentage (%), Mean ( ), Standard Deviation (SD), One-way ANOVA and t-test. This study revealed that: 1. The practice administration of good governance exercised by school administers in schools under the Secondary Educational Service Area Office 1 Group 3, as a whole and each aspect, was found at a high level. The administration aspects were rated from the high level to the low level as follows: Participation, The rule of Law, Cost-effectiveness, Morality, Accountability, and Responsibility. 2. The good governance of the schools exercised by the school administrators in schools under the Secondary Educational Service Area Office 1 Group 3 as classified by position, as a whole, showed no statistically significant difference. However this study reports that there are statistically significant different at .05 level in the areas of the rule of Law, Morality, and Responsibility. As classified by working experience and size of school, this study reports statistically significant difference at .05 level; except the rule of Law was which shows no statistically significant difference.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.55 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น