กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7842
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา คุณทรงเกียรติ | |
dc.contributor.advisor | วารี กังใจ | |
dc.contributor.author | วนิศา รัชวัตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:12:52Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:12:52Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7842 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การได้รับการตอบสนองความต้องการการดูแลของสมาชิกครอบครัวอย่างเหมาะสม มีความจำเป็นมากจะช่วยให้สมาชิกครอบครัวสามารถดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายอย่างมีประสิทธิภาพ การวิจิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบเปรียบเทียบ เพื่อศึกษาความต้องการการดูแลและการได้รับการตอบสนองความต้องการการดูแลของสมาชิกครอบครัวกลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสระบุรี จำนวน 67 ราย ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อ มูลทั่วไป แบบสอบถามความต้องการการดูแลและการได้รับการตอบสนองความต้องการการดูแลของสมาชิกครอบครัวซึ่งมีค่าเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาคเท่ากับ .87 และ .91 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาใช้สถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่ยความต้องการการดูแลโดยรวมอยู่ในระดับมาก (M = 120.88, SD = 8.35) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าคะแนนเฉลี่ยความต้องการการดูแลทั้งด้านข้อมูลข่าวสาร (M = 56.13, SD = 3.79) ด้านร่างกาย (M = 21.14, SD = 2.29) และด้านอารมณ์ (M = 40.64, SD = 3.48) อยู่ในระดับ มาก ส่วนความต้องการการดูแลด้านจิตวิญญาณอยู่ในระดับปานกลาง (M = 2.95, SD = 1.07) คะแนนเฉลี่ยการได้รับการตอบสนองความต้องการการดูแลทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบความต้องการการดูแลและการได้รับการตอบสนองความต้องการดูแล พบว่าความต้องการการดูแลและการได้รับการตอบสนองความต้องการการดูแลโดยรวม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าคะแนนเฉลี่ย ความตอ้งการการดูแลด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านร่างกายและด้านอารมณ์สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยการได้รับการตอบสนองความต้องการดูแลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ส่วนคะแนนเฉลี่ยความต้องการการดูแลและการได้รับการตอบสนอง ด้านจิตวิญญาณไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพในการดูแลให้สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มะเร็ง -- โรค | |
dc.subject | มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล | |
dc.subject | Health Sciences | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ | |
dc.title | ความต้องการดูแลและการได้รับการตอบสนองความต้องการการดูแลของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย | |
dc.title.alternative | Cring needs nd receiving cring need responses of fmily members hving terminlly cncer ptients | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Receiving appropriate caring need responses is necessary for family members in order to provide the efficient care for the terminally cancer patients. The purpose of this descriptive comparative research was to study family members’ caring needs and the caring need responses of family members. The simple random sampling technique was used to select 67 family members caring for terminally cancer patients, Saraburi Hospital. The instruments include demographicdata record form, caring needs and caring need responses questionnaires which Cronbach’s Alpha Coefficient were .87 and .91, respectively. Data were analyzed using descriptive statistic and paired t-test. The results revealed that the overall mean score of the caring needs was at the high level (M = 120.88, SD = 8.35). The mean scores of informational care need (M = 56.13, SD = 3.79), physiological care need (M = 21.14, SD = 2.29), and emotional care need (M = 40.64, SD = 3.48) were at the high level, but the spiritual caring need was at the moderate level (M = 2.95, SD = 1.07). The mean scores of overall and each aspect of the caring need responses were at the high level. The mean scores of the overall caring need and the caring need response was significantly different (p< .001). The mean scores of informational, physiological, and emotional caring need were significantly higher than the mean scores in the same aspect of the caring need responses (p< .001), while the mean scores of spiritual aspect was not different. The results could be used to improve quality of care for family members of terminally cancer patients. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น