กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7840
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมสมัย รัตนกรีฑากุล
dc.contributor.advisorนิสากร กรุงไกรเพชร
dc.contributor.authorณัฐชนน ผุยนวล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:12:52Z
dc.date.available2023-05-12T06:12:52Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7840
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการออกกําลังกายที่มีความหนักระดับปานกลางอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มผู้เสี่ยงสูงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้การวิจัยกึ่งทดลอง แบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการกํากับตนเองด้านการออกกําลังกายด้วยวิธีรําวงย้อนยุคต่อระดับน้ำตาลในเลือดและสมรรถภาพทางกายในกลุ่มผู้เสี่ยงสูงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน รวม 55 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการกํากับตนเองด้านการออกกําลังกายด้วยวิธีรําวงย้อนยุค ระยะเวลา 8 สัปดาห์กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามปกติ (คลินิกดีแพค) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และการทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา การทดสอบที การทดสอบวิลคอกซัน และสิถิติทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยพบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างระดับน้ำตาลในเลือด (t= 2.00, p-value = .025) ค่าเฉลี่ยผลต่างเส้นรอบเอว (t= 5.23, p-value < .001) เปอร์เซ็นต์ไขมัน (t = 2.71, p-value = .009) และความดันโลหิตตัวบน (z= -1.68, p-value = .044) ลดลงมากกว่า กลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนค่าเฉลี่ยผลต่างความจุปอดเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t= 2.97, p-value = .005) แต่ค่าเฉลี่ย ผลต่างความดันโลหิตตัวล่างไม่ลดลงมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (z= -.88, p-value = .199) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลชุมชนสามารถนําโปรแกรมนี้ไปใช้ในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานของกลุ่มผู้เสี่ยงสูงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ร่วมกับการดําเนินงานคลินิกดีแพค เพื่อให้มีการออกกําลังกายอย่างต่อเนื่องจนเกิดพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเบาหวาน -- โรค
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
dc.subjectกลูโคสในเลือด
dc.subjectการออกกำลังกาย
dc.subjectHealth Sciences
dc.titleผลของโปรแกรมการกำกับตนเองด้านการออกกำลังกายด้วยวิธีรำวงย้อนยุคต่อระดับน้ำตาลในเลือดและสมรรถภาพทางกายในกลุ่มผู้เสี่ยงสูงโรคเบาหวานชนิดที่ 2
dc.title.alternativeEffects of self-regultion progrm in retro-line dncing exercise on blood sugr level nd physicl fitness of persons t high risk to type 2 dibetes mellitus
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeAt least 150 minutes of moderate-intensity exercise per week can help to prevent diabetes mellitus [DM] among persons at high risk to type 2 diabetes mellitus. This quasiexperimental research with two groups pretest-posttest design aimed to examine the effect of selfregulation program in Retro-line Dancing exercise on blood sugar level and physical fitness among persons at high risk to type 2 DM. A multistage random sampling was used to recruit 55 of persons at high risk to type 2 DM. They were divided into the experimental group (n= 55) and the comparison group (n= 33). Participants in the experimental group received the self-regulation program in Retro-line Dancing exercise for 8 weeks. The comparison group received usual care (Diet & Physical Activity Clinic [DPAC]). Outcomes data were collected by using blood sugar testing and physical fitness measurements. Data were analyzed by using descriptive statistic, t-test, Wilcoxon sign ranks test, and Mann Whitney U test. The results revealed that after receiving the program, participants in the experimental group had significantly decreased in blood sugar level (t= 2.00, p-value = .025), waist circumference (t= 5.23, p-value < .001), fat percentage (t= 2.71, p-value = .009), and systolic blood pressure (z= -1.68, p-value = .044) than those in the comparison group. Moreover the experimental group had significantly increased in lung capacity than the comparison group. However, there was no significant difference in change scores of diastolic blood pressure between the two groups. This finding indicates that community nurses could integrate the program with usual care (DPAC) to decrease the incidence of DM among persons at high risk to type 2 DM.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.54 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น