กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7837
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสัญญา ยิ้มศิริ
dc.contributor.authorก้องเกียรติ กิตติคุณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:12:52Z
dc.date.available2023-05-12T06:12:52Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7837
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการโรงผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ กรณีศึกษาบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมไทยอีสเทิร์น ซึ่งจะทําการศึกษาในเรื่องศักยภาพของแหล่งก๊าซชีวภาพว่ามีปริมาณเพียงพอที่จะติดตั้งเครื่องผลิตไฟฟ้าขนาดใดโดยการพยากรณ์ปริมาณก๊าซชีวภาพที่เกิดและที่ใช้ในกระบวนการอบยางพารา เพื่อหาปริมาณก๊าซชีวภาพที่เหลือในการผลิตไฟฟ้าโดยจะเลือกวิธีพยากรณ์ที่มีค่า MSE น้อยที่สุด ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ และการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของโครงการ (Sensitivity analysis) จากผลการวิจัยพบว่า วิธีที่ควรจะนํามาพยากรณ์ คือ วิธี Stationary data with additive seasonal effects เนื่องจากมีค่า MSE น้อยที่สุด จากการพยากรณ์พบว่า ปริมาณก๊าซชีวภาพคงเหลือเพียงพอที่จะป้อนให้เครื่องผลิตไฟฟ้าเชื้อเพลิงก๊าซชีวภาพขนาด 2 MW ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์พบว่าโครงการสามารถลงทุนได้เนื่องจากโครงการมูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการ (NPV) มีค่าเท่ากับ 98,532,882 บาท อัตราส่วนระหว่างกำไรต่อทุน (B/C ratio) เท่ากับ 1.22 อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) เท่ากับ 16% ระยะเวลาคืนทุนแบบอัตราคิดลด (Discounted payback period) เท่ากับ 4.03 ปี (ที่อัตราคิดลดมีค่าเท่ากับร้อยละ 10 และมีอายุโครงการเท่ากับ 10 ปี) และเรื่องการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของ โครงการนั้น พบว่า อัตรารับซื้อและกำลังผลิตของเครื่องจักรมีผลกับโครงการมากที่สุด ประโยชน์ของการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นการสนับสนุนนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP2015) ที่ต้องการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายจากพลังงานทดแทนของประเทศไทยเป็นร้อยละ 25 ของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าทั้งหมด และยังสามารถเป็นแหล่งอ้างอิงให้กับผู้ประกอบการที่ต้องการลงทุนในโครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectพลังงานทดแทน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.subjectก๊าซชีวภาพ
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการโรงผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพกรณีศึกษา บริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมไทยอีสเทิร์น
dc.title.alternativeFesibility study of biogs power plnt project: cse study of thi estern group compny
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study feasibility of bio-gas power plant project. Starting from estimating the potential of bio-gas source by using various methods to forecast bio-gas left over from rubberdrying plant. It was found that stationary data with additive seasonal effect method provided the lowest MSE. Therefore, this method was used to forecast the volume of left-over gas. From the forecast data, the researcher found that there was enough gas to supply 2 MW electrical generator. Then; economic feasibility of the project was studied and sensitivity analysis was performed. According to economic feasibility study, the researcher obtained NPV of 98,532,822 Baht, B/C ratio of 1.22, and IRR of 16%. The discounted payback period was 4.03 years at 10% discount rate. The project useful lifecycle was estimated at 10 years. From sensitivity analysis, it was found thatpurchase price and production rate were the most sensitive factors. Also, this study would help supporting renewable energy police following the Alternative Energy Development Plan 2015 (AEDP 2015) of The Ministry of Energy that wants to increase the ratio of renewable energy usage for electricity production in Thailand, and would be valuable information for the investor that is interested in similar projects.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.48 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น