กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7835
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุษาวดี ตันติวรานุรักษ์ | |
dc.contributor.author | ณรงค์ศักดิ์ โพธิ์ไทร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:08:04Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:08:04Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7835 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | จากการศึกษาปรับปรุงค่าดัชนีชี้วัดค่าความต้องการพลังงานของโรงงานผลิตชิ้นส่วนของช่วงล่างรถยนต์แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ อาคารสำนักงานกับโรงอาหาร และอาคารโรงงานกับกระบวนการผลิต โดยวิเคราะห์จากการใช้พลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2556 ถึง พ.ศ. 2558 ค่าดัชนีชี้วัดความต้องการพลังงานในปี พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2558 มีค่า ดัชนีชี้วัดความต้องการพลังงาน 1,214.11 MJ/Ton 1,366.79 MJ/Ton และ 1,320.04 MJ/Ton ตามลำดับ และเมื่อนำมาวิเคราะห์ปริมาณพลังงานเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการปรับปรุงค่าดัชนีชี้วัดความต้องการพลังงานปี พ.ศ. 2559 ด้วยแนวทางปรับปรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ 4 แนวทางได้แก่ ระบบเครื่องอัดอากาศระบบมอเตอร์น้ำระบบเตาอบชิ้นงาน และระบบไฟฟ้าแสงสว่างจะได้ค่าดัชนีชี้วัดพลังงานของโรงงานผลิตชิ้นส่วนของช่วงล่างรถยนต์เท่ากับ 1,263.22 MJ/Ton ซึ่งทำให้ประหยัดพลังงานลงประมาณ 4,874,879.88 MJ/Ton ค่าดัชนีชี้วัดความต้องการพลังงานลดลง 4.30% ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้เพื่อต้องการลดค่าดัชนีชี้วัดความต้องการพลังงานลงที่ 1.5% ตามนโยบายของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกระทรวงพลังงาน ซึ่งมีระยะเวลาคืนทุน 1.5 ปี | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม | |
dc.subject | รถยนต์ -- ชิ้นส่วน | |
dc.subject | รถยนต์ -- เครื่องยนต์ | |
dc.title | การปรับปรุงค่าดัชนีชี้วัดความต้องการพลังงานของโรงงานผลิตชิ้นส่วนของช่วงล่างรถยนต์ | |
dc.title.alternative | Specific energy consumption improvment from utomotive undercrrige mnufcturer (chssis frme nd xle housing) | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | According to the evaluation of energy consumption from automobile undercarriage manufacturer (chassis frame and axle housing), the indexes was divided into two major sections: 1) the office building and the canteen, 2) factory buildings including product production line. As the results of electricity and thermal energy consumptions from 2013 to 2015, the energy demand index showed 1,214.11 MJ/Ton, 1,366.79 MJ/Ton, and 1,320.04 MJ/Ton, respectively. The energy consumption was analyzed for the database to improve the energy demand index in 2018. The improvement concentrated on machine and equipment in 4 main systems in the factory including air compressor system, water motor system, heat and drying oven system, and lighting system. The energy demand index after improvement was 1,263.22 MJ/Tons, which reduced and saved by 4,874,879.88 MJ/Ton or 4.30%. As the result, energy demand index was in line with the assumption. The target for the energy demand index reduction was 1.5% refer to the policy of the Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Ministry of Energy with payback period of 1.5 years. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม | |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.97 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น