กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7834
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพชร์รัตน์ ลิ้มสุปรียารัตน์ | |
dc.contributor.author | สุริยา แก้วเขียว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:08:04Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:08:04Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7834 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบระบบสนับสนุนการแสดงผลการใช้ประโยชน์ในที่ดินโดยใช้แนวคิดการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) กับระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert system) ที่รวบรวม กฎหมายทั้งหมดที่บังคับใช้ในพื้นที่เมืองพัทยามาจัดทำเป็นฐานข้อมูลอ้างอิงระบบต้นแบบถูกพัฒนาขึ้นบนโดยใช้ระบบให้ระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนตของกูเกิลซึ่งสามารถแบ่งการทำงาน 3 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนแสดงแผนที่ 2) ส่วนเครื่องมือการใช้งาน ประกอบด้วยเครื่องมือวัดระยะทาง เครื่องมือวัดขนาดพื้นที่ เครื่องมือแสดงชั้นข้อมูลและเครื่องมือค้นหาโฉนดที่ดิน และ 3) การวิเคราะห์ การขออนุญาตก่อสร้างอาคารผู้ใช้งานสามารถกำหนดความกว้างเขตทางและข้อมูลประเภทอาคารได้ 11 ประเภท ได้แก่ บ้านพักอาศัย ห้องแถว บ้านแถว ตึกแถวโรงแรม อาคารสูงอาคารขนาดใหญ่อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุด อาคารอยู่อาศัยรวม และหอพัก ระบบสามารถประมวลผลและแสดงผลได้ 3 ลักษณะ คือ สามารถก่อสร้างอาคารได้ไม่สามารถก่อสร้างอาคารได้และก่อสร้างได้แต่มีเงื่อนไขตามข้อกฎหมายกฎระเบียบ และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคารกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2558 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และข้อตกลงระหว่างเมืองพัทยาและหน่วยแยกรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ ผลการทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้นโดยการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อระบุ การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบเดิมและการใช้จากระบบต้นแบบที่พัฒนาขึ้น โดยเจ้าหน้าที่เมืองพัทยาที่ปฏิบัติงานด้านการขออนุญาตอาคาร จำนวน 10 คน พบว่า การสืบค้นข้อมูลแบบเดิมใช้เวลาโดยเฉลี่ย 19 นาที 57 วินาทีต่อแปลงที่ดิน ซึ่งมากกว่าการสืบค้นข้อมูลโดยระบบที่พัฒนาขึ้นใช้เวลาโดยเฉลี่ย 1 นาที 21 วินาทีต่อแปลงที่ดิน และการทดสอบความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบและต่อภาพรวมของระบบ ฯ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ทำการติดต่อเข้ารับบริการการสืบค้นการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ผู้ออกแบบ นักลงทุน เจ้าของแปลงที่ดิน ผู้ดำเนินธุรกิจค้าขายที่ดิน จำนวน 30 คน พบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | อาคาร | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | การก่อสร้าง -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี | |
dc.subject | กฎหมายก่อสร้าง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการงานก่อสร้างและงานโครงสร้างพื้นฐาน | |
dc.title | การพัฒนาระบบแสดงผลการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการขออนุญาตก่อสร้างอาคารกรณีศึกษาพื้นที่เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | Development of lnd use designtion system for building permission1: cse study in ptty city chonburi province. | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is to develop a prototype system for supporting land use designation using Geographic-Information System (GIS) and Expert System (ES) and gathering all enforced laws and regulations in Pattaya as reference database. This prototype was created using Google web mapping service (WMS) and divided into three sections which were 1) map display section, 2) service tools comprised of distance measurement, area determination, data layers display, and title deed search tool, and 3) land use analysis section for building permission. The users can determine road width and 11 building categories which are house, row-room building, row-house building, row-house brick building, hotel, high-rise building, special building, extra large building, condominium, common housing building, and dormitory. The analysis results are classified into three conditions that are the building can be constructed on this land, the building cannot be constructed, and the building can be constructed but must conform to laws or regulations such as Building Control Act, The ministerial regulations apply to the city of Pattaya Chon buri Province B.E. 2558 (2015), Notification of Ministry of Natural Resources and Environment And the agreement between the city of Pattaya and the separate unit secures the key persons. The system implementation results were carried out by comparing the working time of ten Pattaya officers when identifying land use designation using traditional method and prototype system. The average working time of traditional method is 19 minutes and 57 seconds per land parcel which is greater than the average time using prototype system that is 1 minute and 21 seconds per land parcel. The system also was evaluated in term of user’s satisfaction. The samples were 30 contacted person such as designers, investors, land owners, and land traders who required to check land use designation. The results indicated that their satisfactions were at a high level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมการจัดการงานก่อสร้างและงานโครงสร้างพื้นฐาน | |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 5.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น