กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7814
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorทัศนีย์ เจริญพร
dc.contributor.authorสุทิน อุทธบูรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned2023-05-12T06:08:00Z
dc.date.available2023-05-12T06:08:00Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7814
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานนิพนธ์นี้ นำเสนอผลการศึกษาและประยุกต์ใช้วิธีการสกัดข้อมูลบนเว็บเพจด้วยเว็บครอเลอร์จากเว็บไซต์ที่รวบรวมงานวิจัยต่าง ๆ มาแสดงไว้บนเว็บไซด์เดียวกัน เพื่อให้สามารถค้นหาได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น โดยใช้ภาษาและเครื่องมือที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ Nodejs และ Cheerio ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สามารถดึงข้อมูลจากเว็บไซต์ด้วยวิธีการเข้าถึงโครงสร้าง HTML ของเว็บไซต์นั้น ๆ เพื่อสกัดข้อมูลที่ต้องการ และจัดเก็บข้อมูลที่ได้ลงในฐานข้อมูลสำหรับนำไปสร้างส่วนแสดงผลลัพธ์ต่อไป โดยได้ทดลองสกัดข้อมูลงานวิจัยจากเว็บไซต์งานวิจัยมหาวิทยาลัยบูรพา เว็บไซต์โครงการเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย และเว็บไซต์คลังข้อมูลงานวิจัยไทย ผลการทดลองสกัดข้อมูลงานวิจัยทั้ง 3 เว็บไซต์ที่มีจำนวนงานวิจัยรวมทั้งหมด 543,695 รายการนั้นใช้เวลาในการครอว์ทั้งสิ้น 1,434 นาที เมื่อนำข้อมูลทั้งหมดมาหาค่า Precision, Recall และ F-Measure เพื่อหาประสิทธิภาพของการสกัดข้อมูล พบว่า ค่า Precision เท่ากับร้อยละ 99 ของสัดส่วนของจำนวนข้อมูล (Records) ที่สกัดได้ตรงตามความต้องการต่อจำนวนข้อมูลงานวิจัยทั้งหมด ค่า Recall เท่ากับ ร้อยละ 99 ของสัดส่วนของจำนวนข้อมูล (Records) ที่สืบค้นได้ตรงตามความต้องการต่อจำนวนข้อมูลที่ตรงตามความต้องการและเมื่อวัดค่า F-measure เพื่อหาประสิทธิภาพของการนำเครื่องมือดังกล่าวมาใช้ในการครอว์และสืบค้น พบว่า มีค่าความถูกต้องร้อยละ 99 จึงแสดงให้เห็นว่า การประยุกต์ใช้วิธีการสกัดข้อมูลบนเว็บเพจด้วยเว็บครอเลอร์นี้มีประสิทธิภาพ ผลของการศึกษาสามารถนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริหารจัดการประวัติการทำงานของบุคลากรต่อไปได้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเว็ปไซต์ -- การออกแบบ
dc.subjectเว็ปเซิฟเวอร์ -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
dc.subjectเว็ปไซต์
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
dc.titleกรณีศึกษาการสกัดข้อมูลงานวิจัยบนเว็บเพจด้วยเว็บครอว์เลอร์
dc.title.alternativeA cse study of web reserch dt scrping by web crwlers
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents the study and application of data extraction method on Web page by WebCrawler in order to facilitate the data searching. The application has been conducted by applying the current existing programming language and tool including Nodejs and Cheerio. They are able to extract the required information from the websites by accessing the HTML structure and store it in the local database for further searching and retrieving. The experiment has been done on the 543,695 research information records from 3 main research Websites of Thailand including Burapha University's research Website, Thailand Library Network Project Website, and Thai National Research Repository Website. The result presents that all research information records can be extracted within 1,434 minutes. Precision-Recall and F-measure are employed to evaluate the accuracy of extracting and search result. The result value of 0.99 can be illustrated the high accuracy of applying the proposed method. The consequence of the application can be used as part of the approaching personnel management system development.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีสารสนเทศ
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.9 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น