กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7808
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภัทราวดี มากมี | |
dc.contributor.author | ชีฟ ชานเมียร์ดี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา | |
dc.contributor.other | Chiv Chnmrdy | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:07:58Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:07:58Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7808 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบสำรวจบุคลิกภาพ ตามทฤษฎีของ Lee and Ashton (2004) ตรวจสอบความไม่แปรเปลี่ยนขององค์ประกอบ แบบสำรวจบุคลิกภาพและสร้าง ปกติวิสัยแบบสำรวจบุคลิกภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จำนวน 1,208 คน ได้มาด้วยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสำรวจบุคลิกภาพมีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบสำรวจ โดย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและการวิเคราะห์กลุ่มพหุ ด้วยโปรแกรม Mplus 7.31 ผลการวิจัยปรากฎว่า 1. แบบสำรวจบุคลิกภาพ ประกอบด้วย บุคลิกภาพ 6 ด้าน ได้แก่ ด้านความซื่อสัตย์สุจริต ถ่อมตน ด้านการมีอารมณ์หวั่นไหว ด้านการแสดงออกอย่างเปิดเผย ด้านการประนีประนอม ด้านการมีจิตสำนึก และด้านการเปิดรับประสบการณ์ มีข้อคำถามทั้งหมด 84 ข้อ มีความตรงเชิงเนื้อหารายข้อมากกว่า .780 ทุกข้อ ค่าดัชนีอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .201 ถึง .793 ค่าความเที่ยงทั้งฉบับ เท่ากับ .972 และมีความตรงเชิงโครงสร้างจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอยู่ในเกณฑ์ดี 2. ผลการตรวจสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลองค์ประกอบเชิงยืนยันแบบสำรวจบุคลิกภาพ ปรากฏว่า ไม่มีความแปรเปลี่ยนระหว่างกลุ่มเพศชายกับเพศหญิง 3. ปกติวิสัยแบบสำรวจบุคลิกภาพ จำแนกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับสูงมีเปอร์เซ็นไทล์มากกว่า 50 (PR > 50) และระดับต่ำมีเปอร์เซ็นไทล์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 (PR ≤ 50) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา | |
dc.subject | บุคลิกภาพ | |
dc.title | การพัฒนาแบบสำรวจบุคลิกภาพของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก : การวิเคราะห์กลุ่มพหุ | |
dc.title.alternative | The development of personlity inventory for upper secondry students in estern specil development zone: multiple-group nlysis | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to develop a personality inventory based on the personality theory of Lee and Ashton (2004), to measure scale invariance between male and female groups, and to derive scale norms. Multi-stage random sampling was used to select 1,208 upper-secondary students from Eastern Special Development Zone. Confirmatory factor analysis and multiple-group analysis were employed to analyze the data using the Mplus 7.31 program. The research findings were: 1. The developed personality inventory consisted of six factors: Honesty-Humility, Emotionality, Extraversion, Agreeableness, Conscientiousness, and Openness to experience, with a total of 84 items. All items had I-CVI over .780; item-to-scale correlations ranged from .201 to .793; scale reliability was .972, and construct validity was confirmed by alignment with the criterion. 2. Confirmatory factor analysis showed that there was invariance between male and female groups. 3. Scale norms were constructed and divided into two levels: percentile rank higher than 50 (PR > 50) indicated high level and percentile rank lower or equal 50 (PR ≤ 50) indicated low level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 5.86 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น