กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7787
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร | |
dc.contributor.advisor | พูลพงศ์ สุขสว่าง | |
dc.contributor.advisor | ฉัตรกมล สิงห์น้อย | |
dc.contributor.author | เทเวศน์ จันทร์หอม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:07:55Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:07:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7787 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ระหว่างรูปแบบการเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอนกับบรรยากาศการจูงใจความสามัคคีและความเชื่อมั่นในทีมที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในประสิทธิภาพของทีม ข้อมูลได้จากการตอบแบบสอบถามมาตรฐาน 5 ฉบับ คือ แบบสอบถามการรับรู้การเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอน แบบสอบถามบรรยากาศการจูงใจ แบบสอบถามความสามัคคีในทีมกีฬาประเภททีม แบบสอบถามความเชื่อมั่นในทีม และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักกีฬากลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาฟุตบอลอาชีพระดัยไทยพรีเมียร์ลีก ปี พ.ศ. 2560 จำนวน 220 คน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ความเชื่อมั่นในทีมมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในประสิทธิภาพของทีมฟุตบอลอาชีพไทยมากที่สุด 2) รูปแบบการเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอนแบบประชาธิปไตยนิยมใช้มากที่สุด 3) รูปแบบการเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอนแบบประชาธิปไตย แบบสนับสนุนทางสังคม แบบฝึกและสอน แบบชมเชยหรือเน้นการให้รางวัล มีความสัมพันธ์กับบรรยากาศการจูงใจด้านมุ่งเน้นที่ความชำนาญ 4) รูปแบบการเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอนแบบเผด็จการ แบบฝึกและสอน และแบบสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับบรรยากาศการจูงใจด้านมุ่งเน้นประสิทธิผล 5) ปัจจัยความสามัคคีในทีมด้านรวมกลุ่มด้วยงานมีอิทธิต่อความเชื่อมั่นในทีมมากกว่ารวมกลุ่มทางสังคม สรุปได้ว่า ปัจจัยด้านรูปแบบความเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอนทั้ง 5 แบบ ส่งผลต่อความพึงพอใจในประสิทธิภาพของทีมฟุตบอลอาชีพไทยโดยส่งผ่านตัวแปรทั้ง 3 ตัวแปร ได้แก่ บรรยากาศการจูงใจ ความสามัคคีและความเชื่อมั่นในทีมทั้งทางตรงและทางอ้อม ผู้ฝึกสอนสามารถนำ โมเดลที่พัฒนาขึ้นนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักกีฬาและทีมให้ประสบความสำเร็จต่อไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ฟุตบอล -- ไทย | |
dc.subject | ผู้ฝึกสอนฟุตบอล | |
dc.subject | ฟุตบอล -- การฝึก | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา | |
dc.title | ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของรูปแบบการเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอนบรรยากาศการจูงใจความสามัคคีและความเชื่อมั่นในทีมที่มีต่อความพึงพอใจในประสิทธิภาพของทีมฟุตบอลอาชีพไทย | |
dc.title.alternative | Cusl reltionship mong ledership style, motivtion climte, tem cohesion, nd collective efficcy on performnce stisfction in thi professionl footbll tems | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to examine the influence of causal relationship among leadership style of the trainer, motivation climate, team cohesion, and collective efficacy on the performance satisfaction in Thai professional football teams. There were 5 standard questionnaires which were about leadership style (LSS), motivation climate (PMCSQ), team cohesion (GEQ), collective efficacy (CEQ) and satisfaction scale for athlete (SSA). The population of this research were 220 footballers in Thai Professional Football League 2017. The results showed that 1) Collective efficacy was the most influencing factor on satisfaction in Thai Professional Football Teams. 2) Democratic behavior of the trainer was the most popular leadership style. 3) Democratic leadership style of behavior, social support, teaching and raining, giving positive feedback and compliments were related to motivation climate that focused on expertise. 4) Dictatorship leadership style of teaching and training, and social support were related to the motivation climate that focused on performance. 5) Team cohesion which gathered members by task gave higher influence to collective efficacy than social gathering. It can be concluded that leadership style of the trainer resulted in satisfaction of Thai professional footballers’ performance through 3 variables which were motivation climate, team cohesion and collective efficacy in both direct and indirect ways. Trainer can apply this model to develop the athletes and building a successful team. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น