กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/76
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ระพินทร์ ฉายวิมล | th |
dc.contributor.author | แก้วตา คณะวรรณ | th |
dc.contributor.author | วิณี ชิดเชิดวงศ์ | th |
dc.contributor.author | ผกา บุญเรือง | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:46Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:46Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/76 | |
dc.description.abstract | มนุษย์จำเป็นต้องประกอบอาชีพเลี้ยงตนซึ่งอาจทำให้บุคคลเกิดความเครียดขึ้นได้ ดังนั้นทำอย่างไร บุคคลจึงจะควบคุมให้ความเครียดที่เกิดขึ้นจากการประกอบอาชีพนั้นอยู่ในระดับเหมาะสมและบริหารให้ความเครียดเกิดในระยะเวลาพอควร เพื่อให้เกิดประโยชน์และไม่เกิดโทษต่อชีวิตวึ่งพบว่าสิ่งแรกที่บุคคลจะต้องกระทำคือ การสร้างความตระหนักรู้เพื่อให้บุคคลสามารถตระหนักรู้ถึงความเครียดในอาชีพนั้นๆ ของตน ซึ่งกระบวนการดังกล่าวจำเป็นต้องมีเครื่องมือที่จะช่วยวัดเพื่อประเมินให้บุคคลเกิดการรับรู้และแสวงหาวิธีการฝึกทักษะเพื่อเรียนรู้การควบคุมความเครียดนั้นๆ การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการกับกลุ่มตัวอย่างที่ประกอบอาชีพในพื้นที่เขตการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ซึ่งได้รับผลกระทบจากความต่อเนื่องของแผนการพัฒนาเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก จำนวน 531 คน ใน 8 กลุ่มอาชีพ คือ กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานบริหารและงานจัดการ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานเสมียนพนักงาน กลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาชีพเกี่ยวกับการค้า กลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาชีพด้านบริการ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการผลิตและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกัน กลุ่มทหาร-ตำรวจดำเนินการสร้างแบบสำรวจความเครียดในอาชีพโดยอาศัยกรอบแนวคิดในการสำรวจความเครียดในอาชีพของ Osipow and Spokane (1987) ได้ข้อกระทงแบบสำรวจความเครียดในอาชีพจำนวน 140 ข้อ ประกอบด้วยโครงสร้าง 3 ด้าน คือ ความเครียดที่บุคคลรับรู้ตามบทบาท (Occupational Role) ความรู้สึกบีบคั้นเนื่องจากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล (Personal Stratin) และทักษะในการเผชิญปัญหาของแต่ละบุคคล (Personal Resource) แล้วดำเนินการหาคุณภาพความตรง และได้ค่าความเที่ยงทั้งฉบับ 0.92 และแต่ละด้าน 0.88 0.92 และ 0.91 ตามลำดับนำแบบสำรวจความเครียดในอาชีพไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่ประกอบอาชีพในเขตพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก ในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2545 จำนวน 750 ฉบับ ได้รับคืนจำนวน 531 ฉบับวิเคราะห์หาความเที่ยง น้ำหนักองค์ประกอบ และวิเคราะห์หาเกณฑ์ปกติเปอร์เซนต์ไทล์จำแนกประเพศแต่ละด้านเพื่อใช้ประโยชน์ในการศึกษาความเครียดในอาชีพจากเส้นภาพ (profile) ของแต่ละบุคคลต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณเงินรายได้ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ความเครียด (จิตวิทยา) | th_TH |
dc.subject | ความเครียดในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | การสร้างแบบสำรวจความเครียดในอาชีพ | th_TH |
dc.title.alternative | AConstruction of Occupational Stress Inventory | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2545 | |
dc.description.abstractalternative | In performing vocations, it is impossible to avoid stress elicited from our careers. The essence is how to control it in the range of eustress which will be vital force in doing careers and living. First of all people must be aware of their stress and in order to evoke them it is necessary to have have an instrument to inform them about their stress situation.This study constructed a vocational stress profile for the population in the Eastern Seaboard Development Region. The sample number was 531 in 8 vocational groups : 1) professionals 2) administrators and executives 3) clerical and financial persons 4) traders and sellers 5) hospital and service persons 6) agriculturists 7) manufacturers and constructors 8) police-solider. The questionnaire was constructed based on Osipow and Spokaen's (1987) concept of vocational stress. It consisted of 140 items concerning three categories of : occupational role, personal strain, and personal resource. The questionnaire had reliability of 0.88, 0.92 and 0.91 in three categories respectively, and it has -coefficient of 0.92. The questionnaire was distributed 750 copies in February 2002 and 531 copies were returned. The data was analized by mean of Coefficient, Factor analysis, factor loading. The norm was computed in percentile form. Then, the profile of vocational stress of the people in the East Seaboard Region was constructed. The profile and questionnaire can be used to determine stress level for purpose of adjusting to cope with the stress in order to do better in their careers and living. It can also be used for education purposeand further research. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2545_012.pdf | 7.19 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น