กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7683
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภารดี อนันต์นาวี | |
dc.contributor.author | วันวิสาข์ หอมขจร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:19:13Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:19:13Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7683 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในกลุ่มศีขรภูมิ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนศีรขรภูมิ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 โดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607-610) ได้จำนวน 168 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิผลของโรงเรียนในกลุ่มศีขรภูมิ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนและปัจจัยด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในกลุ่มศีขรภูมิ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนและปัจจัยด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูมีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียนในกลุ่มศีขรภูมิ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน และปัจจัยด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในกลุ่มศีขรภูมิ 3 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. การสร้างบารมี (X11) การสร้างแรงบันดาลใจ (X12) ความต้องการในการดำรงชีวิต (X21) และความต้องการความก้าวหน้า (X23) สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียนได้ร้อยละ 59.20 สามารถเขียนสมการพยากรณ์เป็นคะแนนดิบ ดังนี้ Y^ = 1.256 + .247(X11) + .286(X12) + -1.80(X21) + .183(X23) ในรูปคะแนนมาตรฐาน Z^ = .283(Z11) + .322(Z12) + .152(Z21) + .207(Z23) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | ประสิทธิผลองค์การ | |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | |
dc.subject | ภาวะผู้นำ | |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในกลุ่มศีขรภูมิ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 | |
dc.title.alternative | Fctors ffcting school effectiveness in sikhorphum 3 cluster under the surin primry eductionl service re office 1 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study was to study the factors that affecting school effectiveness under in Sikhoraphum 3 cluster the Surin Primary Educational Service Area Office 1. The research sample was consisted of 168 teachers in Sikhoraphum 3 cluster under the Surin Primary Educational Service Area Office 1 by using the Krejcie and Morgan’s table (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607-610) by stratified random sampling. The research instrument was a five-rating questionnaire. The statistics used for analyzing the data were Mean, Standard Deviation, Pearson’s Product Moment Correlation, Multiple Regression Analysis and Stepwise Multiple Regression Analysis. The research results revealed that; 1. The school effectiveness of Sikhoraphum 3 cluster under the Surin Primary Educational Service Area Office 1, in overall and each aspect, was at a high level. 2. The factors of transformational leadership of school administrators and the factors of job motivation of teachers in Sikhoraphum 3 cluster under the Surin Primary Educational Service Area Office 1, in overall and each aspect, were at a high level. 3. The factors of transformational leadership of school administrators and the factor of job motivation of teachers had a positive correlation with the school effectiveness of Sikhoraphum 3 cluster under the Surin Primary Educational Service Area Office 1, in overall and each aspect, at the statistically significant at .01. 4. The factors of transformational leadership of school administrators and the job motivation of teachers affect the school effectiveness in Sikhoraphum 3 cluster under the Surin Primary Educational Service Area Office 1 with statistically significant at .01. 5. Charisma (X11), Inspirational (X12), Existence Needs (X21), Growth Needs (X23) are enable to study the school effectiveness in the percentage of 59.20 which could be written in raw score equation form as follow; Y^ = 1.256 + .247(X11) + .286(X12) + -1.80(X21) + .183(X23) Z^= .283(Z11) + .322(Z12) + .152(Z21) + .207(Z23) | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | กศ.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.12 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น