กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7675
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปริญญา ทองสอน | |
dc.contributor.advisor | พาวา พงษ์พันธุ์ | |
dc.contributor.author | วนิดา โพธิ์รัง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:19:11Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:19:11Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7675 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทย โดยใช้เทคนิคแผนผังความคิด ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) พัฒนาการความสามารถ ในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) ศึกษาความสามารถ ในการเขียนแผนผังความคิด และ 4) ศึกษาเจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัด การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทย โดยใช้เทคนิคแผนผังความคิด กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนกลางดงปุณณวิทยา ซึ่งกำลังเรียน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวนนักเรียน 22 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทย โดยใช้เทคนิคแผนผังความคิด แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทย แบบประเมินความสามารถในการเขียนแผนผังความคิด แบบวัดเจตคติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบฝึกการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทย โดยใช้เทคนิคแผนผังความคิด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ (E1/E2) เท่ากับ 78.64/76.21 2. ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทย โดยใช้เทคนิคแผนผังความคิด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความสามารถในการเขียนแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดี (ร้อยละ 74.24) 4. เจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกการอ่าน เพื่อความเข้าใจภาษาไทย โดยใช้เทคนิคแผนผังความคิด อยู่ในระดับดี ( = 4.46, SD = .48) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ภาษาไทย -- การอ่าน (มัธยมศึกษา) | |
dc.subject | การอ่าน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน | |
dc.title | การพัฒนาแบบฝึกการอ่านเพื่อความเข้าใจดภาษาไทยโดยใช้เทคนิคแผนผังความคิดสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | |
dc.title.alternative | The development of thi reding comprehension lessons using mind mpping techniques for mtthyomsuks i students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were; 1) to develop Thai reading comprehension lessons using mind mapping techniques to meet the efficiency of 75/75, 2) to develop ability in Thai reading comprehension for Matthayomsuksa I students, 3) to study the ability of the students in making mind mapping and 4) to study the attitudes of Matthayomsuksa I students towards learning management with Thai reading comprehension lessons using mind mapping techniques. The sample consisted of 22 students in Matthayomsuksa 1/1 in the second semester academic year 2017 at Klangdongpoonawittaya School, Pak Chong District, Nakhon Ratchasima Province, under the Office Nakhonratchasima Primary Educational Service Area Office 4, selected by using Cluster Randon Sampling. The research instruments were Thai reading comprehension lessons using mind mapping techniques, 5 lesson plans, Thai reading comprehension test ability, evaluation form for the ability to make mind mapping and attitude test. The data were analyzed with percentage, mean, standard diviation and t-test. The results of the study were as follows: 1. The development of Thai reading comprehension lessons using mind mapping techniques for Matthayomsuksa I students had the efficiency of (E1/ E2) 78.64/ 76.21. 2. The ability of the students after learning with the Thai reading comprehension, using mind mapping techniques was significantly higher than before learning at the statistically significant level of .05. 3. The ability of the students to make mind mapping techniques was at 74.24 percents, which was considered “high” 4. The attitudes of the students towards learning by Thai reading comprehension lessons, using mind mapping techniques mainly was at good ( = 4.46 and SD = .48) | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | |
dc.degree.name | กศ.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น