กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7671
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุขมิตร กอมณี | |
dc.contributor.advisor | ภูเบศ เลื่อมใส | |
dc.contributor.author | ลักษ์ณภา แก้วคำแจ้ง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:19:10Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:19:10Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7671 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนผ่านเว็บ โดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/ 90 2) เปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนผ่านเว็บโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง การสร้าง เว็บเพจด้วยภาษา HTML สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนผ่านเว็บโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน ชลราษฎรอำรุง ปีการศึกษา 2560 จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) บทเรียนผ่านเว็บโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML 2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้บทเรียนผ่านเว็บ โดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ, ค่าคะแนนเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าทดสอบ t-test independent ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนผ่านเว็บ โดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 90.09/ 92.00 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 2) คะแนนจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนผ่านเว็บ โดยใช้ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เรื่อง การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ผู้เรียนมีทัศนะทางบวกอยู่ในระดับมาก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | บทเรียนคอมพิวเตอร์ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.title | การพัฒนาบทเรียนผ่านเว็บโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานเรื่องการสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | |
dc.title.alternative | The development of web-bsed instruction with using projectbsed lerning on webpge creting by hypertext mrkup lnguge for grde 9 students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were; 1) to develop a web-based instruction using project-based learning on webpage creating with Hypertext Markup Language for Grade 9 students meet the standard criteria of 90/ 90 2) to compare the learning test scores between pre-learning and post-learning of the students who learned by the web-based instruction with using project-based learning on webpage creating with Hypertext Markup Language, and 3) to study the students’ opinions on the developed web-based instruction. The sample group used in this research was 50 students of Grade 9 from Chonradsadornumrung School, 2017 academic Year. The instrument used in the research were; 1) web-based instruction using project-based learning on webpage creating with HTML, 2) pre-test and post-test, 3) questionnaires about opinions of the students who used the web-based. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test dependent. The research results were as follows: 1) the web-based instruction using project-based learning on webpage creating with HTML for Grade 9 students had effectiveness equal to 90.09/ 92.00, which was in accordance with the determined standard, 2) the test scores of post-test were higher than the pre-test by statistic significance at .05 level, and 3) the students’ opinions on the web-based instruction toward students appeared the was at the high level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.degree.name | กศ.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น