กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7666
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorดลดาว ปูรณานนท์
dc.contributor.advisorเพ็ญนภา กุลนภาดล
dc.contributor.authorนพพร ปานขาว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:19:09Z
dc.date.available2023-05-12T04:19:09Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7666
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการปรึกษารายบุคคลทฤษฎีเผชิญความจริงที่มีต่อการยอมรับของภรรยาผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นภรรยาผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม ผู้วิจัยคัดเลือกภรรยาที่มีคะแนนการยอมรับของภรรยาผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามน้อยที่สุดขึ้นไป จำนวน 20 คน มาเป็นกลุ่มตัวอย่าง สุ่มกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดการยอมรับของภรรยาผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามและโปรแกรมการปรึกษารายบุคคลทฤษฎีเผชิญความจริงดำเนินการทดลองให้การปรึกษาจำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที โดยใช้แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองประเภทสององค์ประกอบแบบวัดซ้ำหนึ่งองค์ประกอบแบ่งการทดลองออกเป็น3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่มและทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีของนิวแมน-คูลส์ ผลการศึกษาพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05ภรรยาผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามในกลุ่มทดลองมีการยอมรับ แตกต่างจากกลุ่มควบคุมในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05และภรรยาผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามในกลุ่มทดลองมีการยอมรับในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล แตกต่างจากระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
dc.subjectมะเร็ง -- โรค
dc.subjectมะเร็ง -- ผู้ป่วย
dc.titleผลการปรึกษาทฤษฎีเผชิญความจริงต่อการยอมรับของภรรยาผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม
dc.title.alternativeThe effects of relity counseling on wifecceptnce of cncerptients
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of Reality Individual Counseling on wife-acceptance of cancer patients. The sample in this study was a wife of cancer patients. The researcher selects 20 wives of cancer patient with the acceptance score from the lowest and up.The experimental group and the control group consisted of 10 persons each. A questionnaire forwife-acceptance of cancer patients, and the Reality individual counseling programs were the tools for data collection. The research design was two-factor experiment with repeated measures on one factor. The study was divided into 3 phases: the pre-test phase, the post-test phase and the follow-up phase. The data were analyzed by using repeated measures analysis of variance: one between-subjects variable, and one within-subjects variable and tested of pair differences, using Newman-Keul's Method. The results of this study were that there was a statistically significant interaction at .05 between the method and the duration of the experiment. The score of acceptance of cancer of wives of cancer patients in the experimental and the control group were significantly different at .05 at the post-test and the follow up phases. The wife-acceptance of cancer patients score in the experimental group in the post-test and the follow up phases were significantly different at .05 from the pre-test phase.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษา
dc.degree.nameวท.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.62 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น