กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7651
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ
dc.contributor.advisorดำรัส อ่อนเฉวียง
dc.contributor.authorอัจฉราพรรณ สิงห์โต
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:19:07Z
dc.date.available2023-05-12T04:19:07Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7651
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) พัฒนาชุดการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ตัวต่อเลโก้ เรื่อง เศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 = 80/ 80 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนด้วยชุดการสอนเรื่อง เศษส่วน โดยใช้ตัวต่อเลโก้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดนาจอมเทียน จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ ชุดการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ตัวต่อเลโก้ เรื่อง เศษส่วน, แบบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน และแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้เรียน ผลการวิจัย พบว่า 1) ชุดการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ตัวต่อเลโก้ เรื่อง เศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.07/ 81.83 เป็นไปตามเกณฑ์ E1/ E2 = 80/ 80 ที่กำหนด 2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ตัวต่อเลโก้ เรื่อง เศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้ตัวต่อเลโก้เรื่อง เศษส่วนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
dc.title.alternativeThe delevelopment of mthemtics instructionl pckge by using lego on frctionl for prtomsuks 5 students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to; 1) develop a mathematic instruction a package using LEGO on “fraction” for pratomsuksa 5 students to meet the 80/ 80 criteria, 2) to study the student's satisfaction after learning with the instructional package using LEGO. The sample consisted of 30 students selected by cluster sampling. The research instruments included instruction package on “fractional” using LEGO, achievement test and student satisfaction survey. The results indicated that 1) the efficiency of mathematic instruction package using LEGO on “fraction” were 80.07/ 81.83 which met the criteria set 2) student satisfaction after learning with mathematic instruction package using LEGO on “fraction” was at the highest level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.89 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น