กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7631
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.advisorสมศิริ สิงห์ลพ
dc.contributor.authorขวัญชนก มาตรา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:16:51Z
dc.date.available2023-05-12T04:16:51Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7631
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการอ่าน (Active reading) และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการอ่านอย่างกระตือรือร้น (Active reading) หน่วยการเรียนรู้เรื่อง พลังงานแห่งแสง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 1 ห้องเรียน ซึ่งได้จากการเลือกสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ การสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการอ่านอย่างกระตือรือร้น (Active reading)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ แบบประเมินความสามารถในการอ่าน แบบวัดเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิธีการทดสอบ t-testแบบ Dependent sampleและการทดสอบ t-test แบบ One sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการอ่านอย่างกระตือรือร้น หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการอ่านอย่างกระตือรือร้น หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความสามารถในการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้(5E) ร่วมกับการอ่านอย่างกระตือรือร้น สัปดาห์ที่ 3 มีความสามารถในการอ่านสูงกว่าสัปดาห์ที่ 1 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้ นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้(5E) ร่วมกับการอ่านอย่างกระตือรือร้นสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการอ่านอย่างกระตือรือร้น (Active reading) หน่วยการเรียนรู้เรื่องพลังงานแห่งแสงเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการอ่านและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
dc.title.alternativeEffects of the 5e inquiry lerning cycle with the ctive reding unit energy of light on science lerning chievement,bility to red nd scientific ttitude for prtomsuks 4
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to; study the effect of using 5E inquiry learning cycle with Active Reading, study the ability to read, and study the scientific attitude of 4th grade students toward the learning management. The sample used for this study was one classroom of 4th grade students that was selected by cluster random sampling. The learning management plan of 5E inquiry learning cycle with Active Reading, the Science Achievement Test, the reading assessment, the scientific attitude test were used as the research tools. The statistic used for analyzing the data were mean, standard deviation and t-test. The findings were as follows: 1. The posttest scores of learning achievement of the 4th grade students who participate in learning management using 5E inquiry learning cycle with Active Reading were significantly higher than the pretest score at .05 level. 2. The learning achievement score of the 4th grade students who participate in learning management using 5E inquiry learning cycle with Active Reading after learning was statistically significant higher than the set 70% criterion at .05. 3. The ability to read of the 4th grade students who participate in learning management using 5E inquiry learning cycle with Active Reading at week 3 was statistically significant higher than that of week 1 at .05 level. 4. The scientific attitude of the 4th grade students who participate in learning management using 5E inquiry learning cycle with Active Reading was higher than before participating in the learning management.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการสอนวิทยาศาสตร์
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf9.23 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น