กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7625
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุทิศ บำรุงชีพ | |
dc.contributor.advisor | ปริญญา ทองสอน | |
dc.contributor.author | จักรพงษ์ กล่อมปัญญา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:16:50Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:16:50Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7625 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อออกแบบและพัฒนากิจกรรมการจัดเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรียนหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมเพื่อส่งเสริมทักษะ การคิดในศตวรรษที่ 21 และ 3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนทองเอนวิทยาจังหวัดสิงห์บุรี 1 ห้องเรียน จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ กิจกรรมการเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึม ASEAN Steps แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบวัดทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ASEAN Steps ได้แก่ A-Aims of learning outcomes กำหนดผลลัพธ์การเรียน, S-Searching ค้นหาความรู้ผ่านกระบวนการระดมความคิด, E-Enactive การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ อยากรู้, A-Action learning ลงมือปฏิบัติ และ N-New Knowledge นำเสนอองค์ความรู้ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้โดยมีค่าเฉลี่ย 0.98 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึม หลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | |
dc.subject | อาเซียนศึกษา -- หลักสูตร | |
dc.subject | การศึกษาขั้นมัธยม | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน | |
dc.title | การจัดการเรียนรู้อาเซียนศึกษาแบบผสมผสานตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 | |
dc.title.alternative | Lerning mngment on sen studies bsed on blended lerning using constructionism pproch to enhnce thinking skills in 21stcentury for tenth grde students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were; 1) to design and develop learning activities for ASEAN studies based on blended learning and constructionism approach to enhance thinking skills for 21st for tenth grade students, 2) to compare learning scores before and after learning ASEAN studies based on blended learning and constructionism approach, and 3) to compare thinking skills for 21st century before and after learning the ASEAN studies based on blended learning and constructionism approach. The cluster random sampling was used to select students from tenth grade at Thong-En Wittaya School of semester 1 in 2017 academic year. The participants selected was 20 students. The research tools were ASEAN studies based on blended learning using constructionism approach lesson, achievements test and thinking skills for 21st century test. The data were analyzed by using mean, standard deviation and t-test dependent. The results : were as follows ; 1. The learning activities of ASEAN studies based on blended learning and constructionism approach consisted of 5 steps as follows : ASEAN Steps ; step 1 : A-Aims of learning outcomes ; step 2 : S-Searching ; 3 : E-Enactive ; step 4 : A-Action learning and step 5 : N-New knowledge. The evaluation of the appropriateness of learning activities was item-objective congruence index at mean 0.98. 2. The learning scores after learning with ASEAN studies based on blended learning and constructionism approach level of the students were higher than that of the pretest with statistical significance at .01. 3. The thinking skills for 21st century to the students after learning with ASEAN studies based on blended learning and constructionism approach was higher than to the pretest with statistical significance at .01. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.85 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น