กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7595
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorถนอมศักดิ์ บุญภักดี
dc.contributor.advisorชูตา บุญภักดี
dc.contributor.advisorกาญจนา หริ่มเพ็ง
dc.contributor.authorวรรธนะภัฎ อยู่ไทย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:16:43Z
dc.date.available2023-05-12T04:16:43Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7595
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractศึกษาแหล่งที่มาและการแพร่กระจายของสารอินทรีย์ในป่าชายเลนเมืองใหม่บริเวณปากคลองห้วยละมุ จังหวัดชลบุรีโดยทำการเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนมิถุนายนและเดือนพฤศจิกายน 2557 และเดือนสิงหาคมและเดือนธันวาคม 2559 โดยทำการศึกษาในพื้นที่ป่าชายเลน 12 สถานีพื้นที่หาด คลน 11 สถานีและบริเวณปากท่อปล่อยน้ำทิ้งของโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำ 1 สถานี จากผลการศึกษา พบว่า ปริมาณไอโซโทปเสถียรของคาร์บอนในใบไม้, ดินตะกอน,อินทรีย์แขวนลอย, ปูแสม S. haematocheir ในป่าชายเลน และน้ำทิ้งจากโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำอยู่ที่-30.60±1.16‰, -24.21±0.79‰, -27.05‰, -25.66±2.32‰ และ-27.91‰ ตามลำดับ ส่วนปริมาณ  15N อยู่ที่ 7.20±1.83‰, 4.40±2.24 ‰, 4.08‰, 8.68±1.34‰ และ 10.8‰ ตามลำดับ โดยปริมาณไอโซโทปเสถียรในน้ำทิ้งจากโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำ ไม่มีความแตกต่างกับดินตะกอน และปูแสมในป่าชายเลนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ในทางตรงข้ามปริมาณ  13C ของหอยทะเลสองฝาในพื้นที่หาดโคลนสูงกว่าปริมาณ  13C ในน้ำทิ้งจากโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ในทางตรงข้าม ปริมาณ  13C ของ หอยทะเลสองฝาในพื้นที่หาดโคลนสูงกว่าปริมาณ  13C ในน้ำทิ้งจากโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จึงสามารถสรุปได้ว่าน้ำทิ้งจากโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำ มีการสะสมอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน แต่ไม่มีการสะสมอยู่ในพื้นที่หาดโคลน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectน้ำ -- ปริมาณสารประกอบอินทรีย์
dc.subjectป่าชายเลน -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subjectน้ำทะเล -- ปริมาณสารประกอบอินทรีย์
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.titleแหล่งที่มาและการแพร่กระจายของสารอินทรีย์ในป่าชายเลนเมืองใหม่บริเวณปากคลองห้วยละมุจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeSources nd distribution of orgnic mtter in Mungmi Mngrove, Lmu Estury, Chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeTo study sources and distribution of organic matter in Muangmai mangrove, Lamu estuary, Chonburi province. Field sampling were performed in June and November 2014, August and December 2016 in mangrove (12 stations) where receives treated wastewater, adjacent mudflat (11 station) and wastewater treatment plant (1 station). Values of stable isotope of carbon in mangrove leaves, mangrove sediment, mangrove POM, mangrove crab (Sesarma haematocheir ) and treated wastewater were -30.60±1.16‰, -24.21±0.79‰, -27.05‰, -25.66±2.32‰ and -27.91‰, respectively, and  15N values were 7.20±1.83‰, 4.40±2.24 ‰, 4.08‰, 8.68±1.34‰ and 10.8‰, respectively. The values of stable isotope in treated wastewater, mangrove sediment and mangrove crab were no significantly different (p>0.05), whereas the isotopic compositions between treated wastewater, mudflat sediment and bivalves were significantly different (p<0.05). Results from this study indicates that organic matter from Chonburi central wastewater treatment plant spread to mangrove but did not accumulate in an adjacent mudflat area.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.52 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น