กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7594
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorถนอมศักดิ์ บุญภักดี
dc.contributor.advisorชูตา บุญภักดี
dc.contributor.advisorกาญจนา หริ่มเพ็ง
dc.contributor.authorฉัตรธิดา ชามนตรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:16:43Z
dc.date.available2023-05-12T04:16:43Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7594
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractทำการศึกษาแหล่งที่มาและการกระจายของสารอินทรีย์ในแหล่งหญ้าทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลเทศบาลเมืองสัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรีโดยใช้เทคนิคไอโซโทปเสถียรของคาร์บอน ( 13C) และไนโตรเจน ( 15N) โดยทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด 11 สถานีในช่วงเดือนพฤษภาคม และในช่วงเดือนกันยายน 2556 โดยดินตะกอนที่ระดับผิวมีปริ มาณ δ 13C อยู่ระหว่าง -19.90 ถึง -18.08 ‰ และ δ 15N อยู่ระหว่าง -6.00 ถึง 4.41 ‰ และสัดส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N) ในดินตะกอนที่ระดับผิวใกล้เคียงกับอินทรีย์แขวนลอยในทะเล สามารถบ่งชี้ได้ว่า มีแหล่งที่มาของสารอินทรีย์ในดินตะกอนมาจากอินทรีย์แขวนลอยในทะเล นอกจากนี้ปริมาณ δ 13C และ δ 15N ในหญ้าทะเล (Halodule pinifolia) และหอยเจดีย์ (Cerithideospsilla cingulata) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ -11.5±1.15 6.5±1.15 และ -11.03±1.15 8.3±0.22 ‰ ตามลำดับ และอิพิไฟท์ (Epiphyte) มีแหล่งที่มาของสารอินทรีย์มาจากหญ้าทะเล ขณะที่อาหารของหอยเจดีย์ได้รับสารอินทรีย์มาจากหญ้าทะเล และอิพิไฟท์ (66 และ 33% ตามลำดับ) ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าแหล่งหญ้าทะเลไม่ได้รับสารอินทรีย์มาจากน้ำทิ้งของชุมชน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectหญ้าทะเล -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.titleแหล่งที่มาของสารอินทรีย์ในแหล่งหญ้าทะเลบริเวณชายฝั่งเทศบาลเมืองสัตหีบจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeSources of orgnic mtter in segrss medow Stthip municiplity, Chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis study aims to identify source and distribution of organic matter in seagrass meadow in coastal sea of Sattahip municipality, Chonburi Province by using stable isotope of carbon ( 13C) and nitrogen ( 15N) techniques. Samplings were performed in 11 stations in May and September 2013. The distribution of organic matter in surface sediment increased with distance to the offshore. The δ 13C values of sediment were -19.90 to -18.08‰ and  15N were -6.00 to 4.41‰. Values of δ 13C,  15N and C/N ratios in surface sediment were close to POM. Values of δ 13C and  15N in seagrass (Halodule pinifolia) and gastropods (Cerithideospsilla cingulata) were -11.5±1.15, 6.5±1.15 and -11.03±1.15, 8.3±0.22 ‰, respectively. These results showed that the epiphyte obtained to organic matter from seagrass (H. pinifolia) and gastropods (C. cingulata) received organic matter from seagrass and epiphyte. Their fractionations of organic mixtures in C. cingulata were 67%, 33%, respectively, and there were no significant distribution of organic matter from municipal wastewater nearby study area.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.58 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น