กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7590
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนรวิชญ์ ไกรนรา
dc.contributor.advisorพิศิษฐ์ คำหน่อแก้ว
dc.contributor.authorกานต์ชนา ตันสมรส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:16:43Z
dc.date.available2023-05-12T04:16:43Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7590
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลของอนุภาคนาโนซิงค์แคดเมียมซัลไฟด์ที่ถูกเพิ่มเข้าไปในชั้นส่งผ่านอิเล็กตรอนในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางที่สร้างขึ้น โดยผสมสารแขวนลอยอนุภาคนาโนซิงค์แคดเมียมซัลไฟต์ (Zn1-xCdxS) กับสารละลายไทเทเนียมออกไซด์(TiOx ) เคลือบเป็นชั้นส่งผ่านอิเล็กตรอนในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางที่สร้างขึ้น เปรียบเทียบกับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิลม์ บางที่สร้างขึ้น โดยใช้สารละลายไทเทเนียมออกไซด์ (TiOx ) เป็นชั้นส่งผ่านอิเล็กตรอนเพียงอย่างเดียวโดยเปรียบเทียบค่าตัวแปรทางไฟฟ้าต่าง ๆ ได้แก่ ค่าความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าลัดวงจร (Jsc), ค่าแรงดันกระแสไฟฟ้า (Voc), ฟิลแฟคเตอร์ (FF) และค่าประสิทธิภาพการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า เป็นต้น นอกจากนั้นยังเปรียบเทียบปริมาตรที่ใช้ในการเคลือบสารลายเป็นชั้น ส่งผ่านอิเล็กตรอนที่ปริมาตร 10, 20 และ 30 ไมโครลิตร ตามลำดับ พบว่า เซลล์แสงอาทิตย์ที่สร้างขึ้นมีค่าความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าค่าแรงดันไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น และค่าประสิทธิภาพการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางที่สร้างขึ้น ยังใช้วิธีการเคลือบแบบนำพาการระเหย (Rapid convective deposition) ที่ใช้ปริมาณสารเคลือบน้อย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์
dc.subjectอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
dc.subjectพลังงานแสงอาทิตย์
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.subjectอนุภาคนาโน
dc.titleการศึกษาผลของการเติมอนุภาคนาโนต่อชั้นส่งผ่านอิเล็กตรอนสำหรับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสารอินทรีย์
dc.title.alternativeStudy on the effect of nnoprticles doping on electron trnsporting lyer for orgnic solr cell
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeEffects of adding nano-Zinc Cadmium Sulfide in Electron Transfer Layer (ETL) for thinfilm solar cell were investigated. By mixed Zinc Cadmium sulfide (Zn1-xCdxS) with Titanium Oxide (TiOx ) by mixed ratio 1:1 in electron transport layer for thin-film solar cell and compare with pristine Titanium Oxide (TiOx ). The results were reported in factor for Open Circuit Voltage (Voc), Short Circuit Current (Isc), Fill Factor and Power Conversion Efficiency (PCE%). The fabricated showed a better performance then cell that used pristine TiOx . The current-density curve (I-V) show improvement of Open Circuit Voltage (Voc), Short Circuit Current (Isc) and Power Conversion Efficiency (PCE%). Furthermore, the entire process in the work conducted at below 150 ºC and used a convective deposition for coating thin-film, which offering a great promise for further improvement of the low-temperature, low-cost processing solar technology.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น