กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7562
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพย์เกสร บุญอำไพ | |
dc.contributor.advisor | พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ | |
dc.contributor.author | ณรงค์ศักดิ์ ประสิว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:14:49Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:14:49Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7562 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เฉพาะ 4 ประการได้แก่ 1) เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 2) เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 4) เพื่อประเมิน รับรองระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพาจากผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี การศึกษา ด้านจิตวิทยาหรือด้านศาสนาปรัชญาและด้านการออกแบบการสอน จํานวน 9 คน 2) นิสิตปริญญาตรี จํานวน 29 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา 2) แบบทดสอบประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการ ทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตต่อระบบการเรียนการสอน และ 4) แบบประเมินและรับรองระบบการเรียนการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพ (E1/ E2) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยี การศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา มี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) บริบท 2) หลักการและเหตุผลของระบบ 3) วัตถุประสงค์ 4) ปัจจัยนําเข้า 5) กระบวนการ 6) สิ่งสนับสนุนการเรียน 7) ผลลัพธ์ และ 8) ข้อมูลป้อนกลับ 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของระบบการเรียนการสอนฯ E1/ E2 ทั้ง 4 หน่วยการเรียนมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.83/84.48, 85.58/85.00,85.34/85.00 และ 84.31/84.66 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3. นิสิตมีความพึงพอใจระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 4. ผลการประเมินและรับรองระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยบูรพา จากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ระบบการเรียนการสอน | |
dc.subject | ความคิดทางบวก | |
dc.subject | เทคโนโลยีทางการศึกษา -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.title | การพัฒนาระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.title.alternative | A development of cse study-bsed instructionl system for enhncing positive thinking on eductionl technology nd communiction services of Burph university undergrdute students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were; 1) to develop a case study-based instructional system for enhancing positive thinking foreducational technology and communication services of Burapha University undergraduate students;2) to measure the efficiency test of the instructional system; 3) to study the satisfaction of students toward the case study-based instruction system; and 4) to assess and certify the developed system by the educational experts. The samples used in this research were; 1)9 experts 3 from Educational Technology field, 3 from Instructional and Curriculum field and 3 from Psychology or Religion and Philosophy field. 2) 29 undergraduate students who were selected by purposive sampling. The research instruments were: 1) the system prototype; 2) the efficiency test; 3) students’ satisfaction questionnaire and 4) the experts assessment forms. The data were analyzed by Mean, Percentage, Standard deviation, and E1/ E2. The research results were; 1. A case study-based instructional system for enhancing positive thinking of educational technology and communication services of Burapha University undergraduate students consisted of eight components: 1) Context 2) Rationale 3) Objective4) Input 5) Process 6) Supporting Learners 7) Output and 8) Feedback. 2. The efficienciesof a case study-based instructional system for enhancing positive thinking oneducational technology and communication services of Burapha University for undergraduate students were;84.83/ 84.48,85.58/ 85.00, 85.34/ 85.00 and 84.31/ 84.66 which meet the criterion set. 3. The satisfaction of students toward the case study-based instructional system were at the highest level. 4. The assessment and certification of the case study-based instructional system from the educational experts were at the highest level. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.09 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น