กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7551
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วนิดา พงษ์ศักดิ์ชาติ | |
dc.contributor.advisor | จุฑาพร เนียมวงษ์ | |
dc.contributor.author | ธณัชช์ศักยภ์ ทรงธรรมบวร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:02:50Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:02:50Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7551 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ได้นำเสนอตัวสถิติทดสอบภาวะสารูปดีโดยใช้ฟังก์ชันการแจกแจงจากการทดลองซึ่งพัฒนามาจาก ตัวสถิติอัตราส่วนล็อกภาวะน่าจะเป็นที่ปรับปรุง ซึ่งเรียกว่า ตัวสถิติทดสอบ แอนเดอร์สัน-ดาร์ลิงแบบอัตราส่วนล็อกภาวะน่าจะเป็นที่ปรับปรุง สำหรับการทดสอบการแจกแจงปรกติและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสถิติทดสอบที่นำเสนอนี้กับสถิติทดสอบแอนเดอร์สัน-ดาร์ลิง ที่ปรับปรุง สถิติทดสอบคาแมร์-ฟอนมิสที่ปรับปรุง ซึ่งเป็นสถิติทดสอบที่พัฒนามาจากหลักการพื้นฐานของอัตราส่วนล็อกภาวะน่าจะเป็น โดย Zhang (2002) สถิติทดสอบเชพพิโร-วิลค์ และสถิติทดสอบ แอนเดอร์สัน-ดาร์ลิงแบบดั้งเดิม ค่าวกิฤติของสถิติทดสอบได้ถูกสร้างขึ้นจากข้อมูลจำลองและพิจารณาประสิทธิภาพในด้านการควบคุมค่าความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่ 1 และค่าประมาณกำลัง การทดสอบ การแจกแจงของข้อมูลที่ศึกษามี 5 ลักษณะการแจกแจงคือการแจกแจงใกล้เคียงปรกติ การแจกแจงสมมาตรหางยาว การแจกแจงสมมาตรหางสั้น การแจกแจงไม่สมมาตรหางยาวและการแจกแจงไม่สมมาตรหางสั้น ผลการศึกษาพบว่า สถิติทดสอบทั้ง 5 สามารถควบคุมความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่ 1 ได้สถิติทดสอบแอนเดอร์สัน-ดาร์ลิงแบบอตัราส่วนล็อกภาวะน่าจะเป็นที่ปรับปรุงจะมีค่าประมาณกำลังการทดสอบสูงที่สุด เมื่อข้อมูลมีการแจกแจงใกล้เคียงปรกติและการแจกแจงสมมาตรหางยาวในทุกขนาดตัวอย่าง เมื่อข้อมูลมีการแจกแจงสมมาตรหางสั้น การแจกแจงไม่สมมาตรหางยาวและการแจกแจงไม่สมมาตรหางสั้น สถิติทดสอบแอนเดอร์สัน-ดาร์ลิงแบบอัตราส่วนล็อกภาวะน่าจะเป็นที่ปรับปรุง มีค่าประมาณกำลังการทดสอบน้อย | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ความน่าจะเป็น | |
dc.subject | คณิตศาสตร์สถิติ | |
dc.subject | การทดสอบสมมติฐาน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสถิติ | |
dc.title | การทดสอบภาวะสารูปดีแบบอัตราส่วนล็อกภาวะน่าจะเป็นที่ปรับปรุงสำหรับการทดสอบการแจกแจงปรกติ | |
dc.title.alternative | Goodness of fit test bsed on modified log-likelihood rtio for norml distribution | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research presents a goodness of fit test based on modified log-likelihood ratio, called Anderson-Darling test based on log-likelihood ratio, for normal distribution and compares the efficiency of the proposed test with modified Anderson-Darling test and modified Cramer-von Mises test which were developed by Zhang (2002), Shapiro-Wilk test and the original Anderson-Darling test. The critical values of the tests are obtained through simulation and the efficiency of test is considered as probability of type I error and power of the tests. There are five types of distribution; near normal distribution, symmetric long-tailed distribution, symmetric short-tailed distribution, asymmetric long-tailed distribution, and asymmetric short-tailed distribution. The results show that the five tests can control type I error probability and the proposed test is the most powerful test for near normal and symmetric long-tailed distributions with all sizes of sample. When the data are symmetric short-tailed, asymmetric long-tailed and asymmetric short-tailed distribution, the proposed test provide poor power of the test. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | สถิติ | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น