กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7531
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กังวาฬ ฟองแก้ว | |
dc.contributor.advisor | สุกัญญา บูรณเดชาชัย | |
dc.contributor.author | ณัฐพล ชลวนารัตน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:02:45Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:02:45Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7531 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบการใช้อำนาจของชนชั้นปกครองที่ปรากฏในนวนิยยายเรื่อง แอนิมอล ฟาร์ม และเรื่อง หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ ผ่านแนวคิดการครองอำนาจนำ (Hegemony) ของ Antonio Gramsci โดยเสนอผลงานวิจัยเป็นลักษณะของการพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัยพบว่า ในนวนิยายเรื่อง แอนิมอล ฟาร์ม และเรื่อง หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ ปรากฏการใช้อำนาจของชนชั้นปกครองตามองค์ประกอบแนวคิดการครองอำนาจนำของอันโตนิ โอ กรัมชี่ ซึ่งแบ่งได้ 5 หัวข้อ ได้แก่ 1.แนวความคิดเรื่องโครงสร้างส่วนบน (Super structure) และโครงสร้างส่วนล่าง (Base structure) กับกลุ่มประวัติศาสตร์ (Historic bloc) 2. แนวความคิดเรื่อง ประชาสังคม และสังคมการเมือง (Civil and political society) กับความยินยอมพร้อมใจ และการใช้อำนาจบังคับ (Consent and coercion) 3. สงครามขับเคลื่อนยึดพื้นที่ และสงครามยึดพื้นที่ทางความคิด (War of movement and war of position) 4. กลไกการครองอำนาจนำและกลไกการใช้อำนาจรัฐ (Hegemonic apparatuses and state apparatuses) และ 5. การโต้ตอบต่อการครองอำนาจนำ (Counter hegemony) ผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถเป็นข้อมูลที่ทำให้ทราบถึงจุดมุ่งหมายในการสร้างสรรค์วรรณกรรมนวนิยายเรื่อง แอนิมอล ฟาร์ม และเรื่อง หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่. และสามารถใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวรรณกรรมการเมืองด้านการใช้อำนาจระหว่างผู้ปกครองกับผู้ถูกปกครอง | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | วรรณกรรมการเมือง | |
dc.subject | สงครามกับวรรณคดี | |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง | |
dc.subject | วรรณกรรม -- การวิเคราะห์ | |
dc.subject | การเมือง -- การวิเคราะห์ | |
dc.title | การใช้อำนาจของชนชั้นปกครองที่ปรากฎในวรรณกรรมของ จอร์จ ออร์เวลล์ : กรณีศึกษานวนิยายแปลเรื่องแอนิมอล ฟาร์ม และเรื่องหนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ | |
dc.title.alternative | How the ruling clss enforces power in george orwell’s novels: the cse of niml frm nd 1984 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to analyze and compare the ruling class enforcement appeared in two novels: Animal Farm and Nineteen Eighty-Four based on hegemony by Antonio Gramsci by presented in descriptive analysis. The research results revealed that in Animal Farm and Nineteen Eighty-Four there is the enforcement of power by Antonio Gramsci. The findings can be divided into 5 dimensions:1. super structure, base Structure, and historic bloc; 2. civil and political society as well as consent and coercion; 3.war of movement and war of position; 4.hegemonic apparatuses and State apparatuses and 5.counter hegemony. According to this finding, it can signify the creativity of Animal Farm and Nineteen Eighty-Four and guides on the study of political literature of ruling class enforcement. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง | |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.93 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น