กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7501
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.advisorจุฑามาศ แหนจอน
dc.contributor.authorนวรัตน์ รื่นสุคนธ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:02:34Z
dc.date.available2023-05-12T04:02:34Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7501
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ การปฏิบัติและสมรรถนะการออกข้อสอบของครูมัธยมศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามวัดความรู้เกี่ยวกับการออกข้อสอบ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูจำนวน 398 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความตรงเชิงเนื้อหา 2) พัฒนาระบบธนาคารข้อสอบรายบุคคลของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ดำเนินการตรวจสอบระบบและเครื่องมือจากผู้เชี่ยวชาญ 17 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินและแบบวิพากษ์ระบบการจัดทำธนาคารข้อสอบรายบุคคลสำหรับครูมัธยมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลในรูปของคณะกรรมการร่วม สถิติที่ใช้ คือ มัธยฐานและพิสัยควอไทล์ 3) ทดลองใช้และประเมินระบบธนาคารข้อสอบรายบุคคลที่พัฒนาขึ้น เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินประสิทธิผลการใช้ และแบบประเมินระบบ กลุ่มเป้าหมาย คือ ครู 5 ท่าน และผู้ประเมินระบบธนาคารข้อสอบรายบุคคล 3 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน ผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาสภาพการปฏิบัติและสมรรถนะการออกข้อสอบของครูมัธยมศึกษาทั่วประเทศ พบว่า ครูมีระดับรู้ระดับพอใช้มากที่สุด (46.73%) รองลงมามีความรู้ระดับอ่อน (35.78%) ดี (11.81%) ไม่ผ่านเกณฑ์ (3.27%) และดีมาก (2.51%) ตามลำดับ ความตระหนักใน การออกข้อสอบของครูผู้สอนมัธยมศึกษา พบว่า ครูโรงเรียนมัธยมศึกษามีความตระหนักใน การออกข้อสอบโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.94, SD = 1.06) และพบว่า การปฏิบัติในการออกข้อสอบของครูโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.16, SD = 1.00) 2. ผลการทดลองใช้และประเมินผลธนาคารข้อสอบรายบุคคล พบว่า ผลการประเมินหลังทดลองใช้ระบบธนาคารข้อสอบรายบุคคลโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.52, SD = 0.50) และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ด้านความถูกต้องมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( = 4.60, SD = 0.50) รองลงมาเป็นด้านความเหมาะสม ( = 4.58, SD = 0.50) ด้านความเป็นไปได้ ( = 4.50, SD = 0.51) และด้านความเป็นประโยชน์ ( = 4.41, SD = 0.50) ตามลำดับ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectแบบทดสอบ -- การประเมิน
dc.subjectครูมัธยมศึกษา
dc.subjectคลังข้อสอบ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษา
dc.titleการพัฒนาระบบธนาคารข้อสอบรายบุคคลสำหรับครูมัธยมศึกษา
dc.title.alternativeA development of individul item bnk system for secondry school techers
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: 1) to study the practice of item bank development of secondary school teachers, and the competency of item development of the teachers. The research instruments were questionnaires to collect the data from the sample group of 398 teachers. The questionnaire was verified for content validity. 2) to develop an individual item bank system for secondary school teachers. The research instruments were questionnaire, evaluation forms, and feedback forms. The data were analyzed by the joint committee technique. The statistical analyses used were median and interquartile range. 3) to try out as well as assess the effectiveness of the developed individual item bank system. The instrument for this purpose were the efficacy assessment forms and a system evaluation form were employed to obtain data from five teachers and three assessors who were the target of the implementation. The data from efficacy assessment were analyzed by using descriptive statistics. The research results were as follows; It was found that the conditions of practice and assessing of the literacy of secondary-school teachers in item development were at the moderate level, low level, unsatisfactory level, and few were at excellent levels, respectively. The awareness of secondary school teachers were that the overall level of awareness was at high level. And their practice of developing of tests of teachers were at a high level. The implementation results and individual item bank evaluation were that the overall effectiveness was at the excellent level, and when each aspect was considered, the accuracy standard was at the highest level, followed by the proprietary standards, the feasibility standards and utility standards.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.3 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น