กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7498
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.advisorจุฑามาศ แหนจอน
dc.contributor.authorกมลวรรณ คชายุทธ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:59:06Z
dc.date.available2023-05-12T03:59:06Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7498
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการประเมินคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามสภาพการประเมินคุณภาพงานวิจัยด้านความรู้ มโนทัศน์และการปฏิบัติ กับกลุ่มตัวอย่าง ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษาทั่วประเทศ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 991 คน โดยศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ วิเคราะห์เนื้อหาและการสรุปอุปนัย 2) พัฒนารูปแบบการประเมินคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ตรวจสอบรูปแบบและเครื่องมือจากผู้เชี่ยวชาญ 17 คน เก็บข้อมูลโดยแบบประเมินและแบบวิพากษ์รูปแบบ วิเคราะห์ค่ามัธยฐาน และพิสัยควอไทล์ 3) ประเมินประสิทธิผลรูปการณ์แบบการประเมินคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ของนักศึกษาศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา โดยการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เก็บข้อมูลด้วยแบบประเมินประสิทธิผลรูปแบบ โดยกลุ่มทดลองใช้รูปแบบ คือ อาจารย์นิเทศก์ คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี จำนวน 18 คน วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติพื้นฐาน ผลการวิจัย พบว่า การประเมินคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน มี 3 องค์ประกอบ 20 ตัวบ่งชี้ คือ กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน วิธีดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน และการนำงานวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ ผลประเมินและแบบวิพากษ์รูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า รูปแบบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความสอดคล้องทุกประเด็น ผลการเปรียบเทียบความรู้และมโนทัศน์ ค่าเฉลี่ยหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ผลการประเมินประสิทธิผลการใช้รูปแบบ โดยการประเมิน 4 มิติ ของ Stufflebeam (2001) มีค่าเฉลี่ย มากกว่า 3.50 ทุกมาตรฐาน แสดงว่ารูปแบบมีคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา -- การประเมิน
dc.subjectวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา
dc.subjectการศึกษา -- วิจัย
dc.subjectแบบประเมินคุณภาพ
dc.subjectครูฝึกสอน
dc.subjectวิจัย -- การประเมิน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.titleการพัฒนารูปแบบการประเมินคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษาโดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
dc.title.alternativeThe development of the qulity of clssroom ction reserch evlution model of techingprcticum students, fculty of eduction institute of physicl eduction by prticiptory ction reserch
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were to: 1) study the state of the quality evaluation for classroom action research of teaching practicum students, Faculty of Education, Institute of Physical Education. The data were collected by questionnaire on state of the research quality in knowledge, concepts and practices. the samples were 991 mentors and supervisors, Faculty of Education in the year 2017 together with related documents, analyzing the quantitative data, content analyzing, and conclusion 2) develop a quality evaluation model for classroom action research of teaching practicum students, Faculty of Education Institute of Physical Education by participatory action research. The model was verified by 17 experts. Using formative and model critical forms as the data collection tools. The data were analyzed by median and interquartile range 3) Evaluate the effectiveness of the developed quality evaluation model by participatory action research. The data were collected by the effectiveness evaluation forms. The implementation group were the supervisors. The data were analyzed by descriptive statistics. The analysis results were; There were 3 components and 20 indicators of the quality evaluation for classroom action research. For the indicators, They were; the classroom action research process, research operation, and the apply of classroom action research. The evaluation result by experts found that the model were most appropriate and was congruent with the overall criteria. The results of the comparison of knowledge and concept were that the post implementation score were higher than pre implementation score statistically significant at .05 level. For the 4 dimensions an evaluation by Stufflebeam's (2001) theory was higher than 3.50 in overall standard, indicating that the model had quality.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.99 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น