กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7475
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorศศินันท์ ศิริธาดากุลพัฒน์
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ ลิลา
dc.contributor.authorเบ็ญจพร ภิรมย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:59:00Z
dc.date.available2023-05-12T03:59:00Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7475
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ของโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง และโมเดลออโตรีเกรซซีพที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการในการศึกษาพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และเพื่อเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ของโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง และโมเดลออโตรีเกรซซีพที่มี ตัวแปรแฝงพัฒนาการในการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำนวน 600 คน ได้มาโดยการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ จำนวน 4 ฉบับ เป็นแบบทดสอบคู่ขนาน แบบทดสอบวัดความสามารถด้านเหตุผล แบบวัดเจตคติต่อการเรียน และแบบสอบถามคุณภาพการสอนของครู เก็บข้อมูลซ้ำ จำนวน 4 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์ ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง และโมเดล ออโตรีเกรซซีพที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ผลการวิเคราะห์ของโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง และโมเดลออโตรีเกรซซีพที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการในการศึกษาพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม โมเดล 2 รูปแบบนี้ มีความเหมาะสมในการนำไปใช้ศึกษาพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 2. ผลการวิเคราะห์ของโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง และโมเดลออโตรีเกรซซีพที่มี ตัวแปรแฝงพัฒนาการในการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์แตกต่างกัน โดยโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์มากกว่าโมเดลออโตรีเกรซซีพที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการ ตัวแปรความสามารถด้านเหตุผล และเจตคติต่อการเรียน มีอิทธิพลทางตรงต่อพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนตัวแปรคุณภาพการสอนของครูไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และตัวแปรในโมเดลร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของคะแนนความสามารถเริ่มต้น ร้อยละ 33 และ อัตราพัฒนาการ ร้อยละ 20
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
dc.subjectความคิดและการคิด -- วิจัย
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.titleการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ด้วยโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงและโมเดลออโตรีเกรซชีพที่มีตัวแปรแฝงพัฒนาการในการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
dc.title.alternativeA comprison nlyticl result between ltent growth curve model nd utoregressive ltent trjectory model in study fctors influencing on growth nlyticl thinking bility of mthyomsus 1 students under the secondry eductionl service re office 28
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: to 1) compare the analytical result between latent growth curve model and autoregressive latent trajectory model in study on growth of analytical thinking ability, and 2) to compare the analytical result between latent growth curve and autoregressive latent trajectory model of factors Influencing on growth of analytical thinking ability. A sample were 600 Mathayomsusa 1 students under the Secondary Educational Service Area Office 28 selected by multistage random sampling. The research instruments were four set of the paralleled analytical thinking ability test, rational ability test, questionnaire on learning attitude and questionnaire on quality of instruction. The data were collected in four rounds; each was approximately 4 weeks apart. Data were analyze using computer program to test for a consistency of latent growth curve model and autoregressive latent trajectory model with empirical data. Researching findings were: 1. The analytical result of a latent growth curve model and autoregressive latent trajectory model in study on growth of analytical thinking ability were different. However both models were appropriate for studying on growth of analytical thinking abilities. 2. Analytical result of a latent growth curve model and autoregressive latent trajectory model in studying the factors influencing on growth of analytical thinking ability were different but a latent growth curve model was appropriate for studying the factors influencing on growth of analytical thinking ability better than autoregressive latent trajectory model and rational ability variable and learning attitude had significantly direct effect on growth analytical thinking ability. Quality of instruction was not found to influencing on growth of analytical thinking ability. The predictive variables in the model could explain the variance of the latent initial score and latent growth rate at 30 percent and 20 percent, respectively.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.47 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น