กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7463
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ศรีบริรักษ์
dc.contributor.authorนิพนธ์ สมหมาย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:58:57Z
dc.date.available2023-05-12T03:58:57Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7463
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractสืบเนื่องจากการเติบโตของการใช้งานอุปกรณ์ไอโอทีเป็นผลทำให้เกิดจำนวนของผ้ใช้ในงานด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น อุปกรณ์สวมใส่ที่มีฟังก์ชันการทำงาน ได้แก่ การตรวจจับท่าทางของผู้ใช้งาน การตรวจจับจำนวนก้าวเดิน การตรวจจับอัตราการเต้นของหัวใจการตรวจจับระดับออกซิเจนในเลือดและการตรวจจับอุณหภูมิร่างกายซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ถูกนำมาใช้ในผู้คนที่หลากหลาย แน่นอนว่าอุปกรณ์ไอโอทีเหล่านี้ต้องส่งข้อมูลส่งต่อไปยังศูนย์กลางการเก็บข้อมูล เพื่อเก็บบันทึกข้อมูล ซึ่งช่องทางในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ไอโอทีไปยังศูนย์กลางการเก็บข้อมูลยังขาดความปลอดภัยในการส่งข้อมูลอยู่นั่น จึงเป็นความเสี่ยงที่อาจจะทำให้ผู้ไม่หวังดีแอบขโมยข้อมูลบางอย่างไปจากผู้ใช้งานอันก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ใช้งาน ผู้ทำวิจัยจึงตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยที่อยู่ในอุปกรณ์ไอโอทีส่วนบุคคล จึงนำเสนอการใช้ตัวไอซีเข้ารหัสซึ่งออกแบบมาให้รองรับอุปกรณ์สวมใส่ให้สามารถรองรับกระบวนการระบุตัวตนและการเข้ารหัสแลกกุญแจรหัสลับข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ไอโอที ส่วนบุคคลกับตัวรับข้อมูลเกตเวย์และมีการเข้ารหัส AES ในการเข้ารหัสสุดท้ายแล้วมีการเพิ่มเทคนิคการเข้ารูปแบบก่อนที่จะทำการเข้ารหัสข้อมูล AES โดยจะใช้เทคนิค Huffman Encoding ซึ่งจะทำให้ระบบการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ไอโอทีส่วนบุคคลกับ เกตเวย์มีความปลอดภัยมากขึ้น จากการทดสอบกระบวนการระบุตัวตนและกระบวนการแลกรหัสลับ สามารถสรุปเวลาของกระบวนการทำงานได้ 1,416.482 มิลิวินาทีในส่วนของกระบวนการเข้ารหัสลับข้อมูลสามารถสรุปเวลาของกระบวนการได้ 2.0699 มิลิวินาที ซึ่งไม่กระทบต่อกระบวนการติดต่อสื่อสารของระบบ และสุดท้ายในของการเพิ่มความปลอดภัย เมื่อศัตรูใช้วิธีการ Brute force หารหัสลับ ศัตรู จะต้องใช้ทรัพยากรในการคำนวณถึง 1,252.87 เท่าถ้าระบบใช้เทคนิค Huffman coding เมื่อเทียบกับการที่ระบบไม่ได้ใช้เทคนิค Huffman coding
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
dc.subjectอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง
dc.subjectสุขภาพ -- เครือข่ายคอมพิวเตอร์
dc.subjectรหัสและการเข้ารหัส
dc.titleการระบุตัวตนและการเข้ารหัสข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลสำหรับอุปกรณ์สวมใส่โดยใช้ไอซีเข้ารหัส
dc.title.alternativeAuthentiction nd encryption of personl helth informtion for werble device using cryptogrphicl integrted circuit
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeDue to the growing usage of IoT devices, the number of users in health care has increased. Wearable accessories include motion detection, step count detection, heart rate detection, oxygen saturation in blood and body temperature measurements. With many users, these devices have to forward recorded personal data to the data center via data channel, which could pose a threat regarding privacy invasion. Eavesdropper may steal user information, causing severe damage to users. In this thesis, we are aware of the importance to significant security concerns of personal IoT devices, we therefore propose to include Cryptographical Integrated Circuit in the IoT wearable device forpersonal health. It uses authentication between devices and the gateway such that a common session key is derived for a particular device-gateway pair. The session key will later be used for encapsulating AES secret key for health data encryption. At the end, we also add the Huffman Coding process to improve the security of AES encrypted data. Experimental results show that the process of authentication and encryption key agreement takes only 1,416.482 ms, whereas AES encryption takes only 2.0699 ms. These amounts of time do not have considerable effect on the communication process of the system. In addition, with Huffman Coding of health information, the enemy’s brute force in search of AES key will consume 1,252.87 times more computational resource than the normal process without Huffman Coding.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.99 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น