กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7446
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑามาศ แหนจอน | |
dc.contributor.advisor | ศศินันท์ ศิริธาดากุลพัฒน์ | |
dc.contributor.author | พัชรินทร์ พาหิรัญ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:58:54Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:58:54Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7446 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ ต่อหน้าที่บริหารจัดการของสมองในนักเรียนชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ ปีการศึกษา 2560 สุ่มอย่างง่าย จำนวน 40 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ โปรแกรมสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และแบบทดสอบวิสคอนซินการ์ดซอร์ติ้ง 64 การ์ด การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ จำนวน 9 ครั้ง ๆ ละ 50 นาที สัปดาห์ละ 2 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 5 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดการเรียนการสอนจากทางโรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ บอนเฟอโรนี ผลการวิจัย พบว่า 1) มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาของการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมมีคะแนนเฉลี่ยจำนวนที่ตอบถูกทั้งหมด ในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมในระยะหลัง การทดลองและระยะติดตามผลมีคะแนน เฉลี่ยจำนวนที่ตอบถูกทั้งหมด สูงกว่าระยะก่อน การทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่า โปรแกรมสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพในการเสริมสร้างหน้าที่บริหารจัดการของสมองในนักเรียนชั้นประถมศึกษาได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สมอง | |
dc.subject | การเรียนรู้ (จิตวิทยา) | |
dc.subject | นักเรียนประถมศึกษา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ | |
dc.subject | สมรรถภาพทางสมอง | |
dc.title | ผลของโปรแกรมสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ ต่อหน้าที่บริหารจัดการของสมองในนักเรียนชั้นประถมศึกษา | |
dc.title.alternative | The effects of brin mind nd lerning trining progrm on executive functions of the brin in primry school students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The research aimed to study the effects of brain, mind and learning training program on executive functions (EFs) of the brain in primary school students. The sample consisted of 40 primary students at Wat Nongkor Community School in the academic year of 2017. The samples were divided by simple random sampling in to 2 groups; the experimental group and the control group. Each group consisted of 20 students. The research instruments were the brain mind and learning training program, and the Wisconsin Card Sorting Test (WCST-64). The data collection was divided into three phases; the pretest, the posttest, and the follow-up phase. The research was conducted in 9 sessions, two times a week. Each session lasted for 50 minutes for the experimental group, The control group joined the regular school’s activities. The data were analyzed by repeated measures of variance: one between-subjects variable and one within - subjects variable followed by paired-different test by Bonferroni. The results of the study indicated that; 1) there was statistically significant interaction at .05 level between the method and the duration of experiment. 2) The students in the experimental group had higher mean score of total correct than the students in the control group, in the posttest and the follow-up phases statistically significance different at .05 level. 3) the students in the experimental group had higher mean score of total correct in the posttest phase, and the follow-up phases than the pretest phases with statistically significance different at .05 level. It was concluded that the brain mind and learning training program was effective in enhancing theexecutive functions of the brain of primary school students. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | สมอง จิตใจ และการเรียนรู้ | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น