กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7435
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภารดี อนันต์นาวี | |
dc.contributor.author | นลินี ทับวิเชียร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:55:36Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:55:36Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7435 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จํานวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอํานาจจําแนกระหว่าง .56 - .90 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .98 สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t - test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) และทดสอบทดสอบรายคู่โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัญหาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. เปรียบเทียบปัญหาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จําแนกตามวุฒิการศึกษาโดยรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติจําแนกตามประสบการณ์การทํางานโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติจําแนกตามขนาดสถานศึกษาโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18ควรจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการจัดหาสื่อเพื่อให้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ จัดอบรมเพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ห้องสมุดหรือผู้ทีทําหน้าที่บรรณารักษ์ในด้านต่าง ๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพและเป็นการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่มีกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และกิจกรรมอื่น ๆ ที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจเข้ามาใช้บริการห้องสมุดมากขึนและนําคอมพิวเตอร์มาใช้ในการสืบค้นและจัดกิจกรรมห้องสมุด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ห้องสมุดโรงเรียน -- การบริหาร | |
dc.subject | ห้องสมุดและบริการของห้องสมุด | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.title | ปัญหาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษาอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 | |
dc.title.alternative | Problems nd guided development the librry of secondry school in Bnbung District, Chonburi Province under Secondry Eductionl Service Are Office 18 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study the problems and the quality development guidelines of the library for the secondary school in Banbung district, Chonburi province under the Secondary Educational Service Area Office 18. The samples were 127 teachers from the Educational Service Area Office 18. The tool using in this research was the questionnaires of 5 rating scales, the discrimination power was .56 - .90 the reliability was at 98. The statistics used to analyze of data were frequencies, percentages, Means, Standard Deviation, t - test, One way ANOVA and Scheffe’s Method. The results were; 1. The problems of quality of the library in the secondary school of Banbung, Chonburi province under theSecondary EducationalService area Office 18 in overall and in each aspect were at high level. 2. The library quality problems of the secondary schools when classified by the education levels, working experience and school sizes in overall and in each aspect were not found different. 3. Concerning the guidelines for the secondary schools in they were; should allocate sufficientbudgets tofor mediato service inthe libraryto meet the needs of the usersas well as setting up the training to develop the library officers or the librarians to increase their performance. Setting up activities to motivate users to use the library, Introducing computerized searching. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.52 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น