กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7397
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.authorภัทราพรรณ รุ่งเรืองศิลาทิพย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:55:16Z
dc.date.available2023-05-12T03:55:16Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7397
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน ศึกษาความสัมพันธ์และปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน และสร้างสมการพยากรณ์แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูในโรงเรียนสังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดชลบุรี จำนวน 254 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น ตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 4 ตอน ได้แก่ แบบสอบถาม เกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานของครู การบริหารจัดการทรัพยากร และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .20-.90 มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .92, .90, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ คะแนนเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์แบบ Pearson (Pearson’s product moment correlation) การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยสภาพแวดล้อม ในการปฏิบัติงานของครู และปัจจัยการบริหารจัดการทรัพยากร สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ มาก 2. ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานของครูและปัจจัย การบริหารจัดการทรัพยากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชลบุรี อยู่ในระดับสูงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ปัจจัยการบริหาร จัดการทรัพยากรส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. สมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดชลบุรี มีความสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 84.20 โดยเขียนในรูปสมการคะแนนดิบได้ ดังนี้ = .235 + .586 (X11) + .679 (X1) + .473 (X2) + .276 (X33) + .108 (X32) หรือในรูปสมการคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ = .842 (Z11) + .824 (Z1) + .503 (Z2) + .320 (Z33) + .124 (Z32)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectครู -- การทำงาน
dc.subjectการจูงใจในการทำงาน
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeFctors ffecting job motivtion of techers under Chonburi Provincil Administrtion Orgniztion
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative-The purpose of this research were to study; 1) the level of the job motivation, 2) the relationship of job motivation, 3) factors affecting job motivation of teachers and 4) to create the equation that could be predicted the job motivation of teachers. The participants were 254 teachers in schools under Chonburi provincial administration organization, they were randomly selected by stratified random sampling. The instrument used for collecting data was five-rating scale questionnaire, which was divided into 4 parts; job motivation of teachers in schools, the transformational leadership, the environment in schools, and the resource management. The discrimination power of the questionnaire was between .20-.90 and the reliability was .92, .90, .92 and .89 respectively. The data were analyzed by a computer program; using mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, multiple regression analysis and stepwise multiple regression analysis. The research were revealed as follows: 1. Job motivation of teachers, the factors of the transformational leadership, the environment in schools and the resource management in schools under Chonburi provincial administration organization in overall and in each aspect were rated at a high level. 2. The factors of the transformational leadership, the environment in schools, the resource management which related to job motivation of teachers in schools under Chonburi provincial administration organization were correlated at high level with the .01 level of significance. 3. The transformational leadership, the environment in schools, the resource management affected the job motivation of teachers in schools under Chonburi provincial administration organization at the .05 level of significance. 4. The prediction equation of the factors affecting job motivation of teachers in schools under Chonburi provincial administration organization can predict the job motivation upto 84.20 percent. It can be composed with the following equation: = .235 + .586 (X11) + .679 (X1) + .473 (X2) + .276 (X33) + .108 (X32) and the standardize equation below: = .842 (Z11) + .824 (Z1) + .503 (Z2) + .320 (Z33) + .124 (Z32)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น