กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7375
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปริญญา ทองสอน
dc.contributor.advisorวิมลรัตน์ จตุรานนท์
dc.contributor.authorมณเฑียร ส่งเสริม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:55:13Z
dc.date.available2023-05-12T03:55:13Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7375
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (กศ.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ชีววิทยา เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ประชากรที่ใช้เป็นกรอบในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอำรุง ปีการศึกษา 2559 สายวิทย์-คณิต จำนวน 400 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม 1 ห้องเรียน จำนวน 46 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น, แบบวัดการคิด วิเคราะห์, แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ, แบบวัดการคิดแก้ปัญหา, แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและแบบวัดเจตคติต่อวิชาชีววิทยา สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ชีววิทยาเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดแก้ปัญหา ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ คือ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการจัด การเรียนรู้มี 8 ขั้นตอน คือ ขั้นกระตุ้นระลึกความรู้เดิม (Stimulus recall of prior learning) ขั้นแจ้ง จุดประสงค์ (Objectives) ขั้นสร้างความรู้ (Native knowledge) ขั้นกระบวนการกลุ่ม (Group processing) ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing) ขั้นขยายความรู้ (Expansion) ขั้นสอนให้คิดต่อ (Re-educate) ขั้นตรวจสอบและติดตาม (Monitoring) 4) ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการเรียนตาม รูปแบบ และรูปแบบมีคุณภาพเหมาะสมตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.49 2. ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น พบว่าผู้เรียนในกลุ่มทดลอง มีผลการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีเจตคติต่อวิชาชีววิทยา ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.87
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectความคิดและการคิด
dc.subjectการเรียนรู้ -- การจัดการ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ชีววิทยาเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
dc.title.alternativeThe development of biology instructionl model to enhnce nlyticl thinking criticl thinking nd problem solving thinking skills of mthyomsuks six students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to develop and to implement the biology instructional model to enhance analytical thinking, critical thinking and problem solving thinking skills of forty-six M.6 students of Chonrasadornumrung School in the second semester of the 2016 academic year. The Cluster Random Sampling method was used to select the sample. The research instruments were lesson plans, and the model developed by the researcher, analytical thinking test, critical thinking test, problem solving thinking test, science achievement test and attitude towards Biology subject. The statistics used for data analysis were Mean, Standard Deviation and t-test. The research results were as follows: 1. The developed biology instructional model to enhance analytical thinking, critical thinking and problem solving thinking skills, comprised four major components: 1) the principle, 2) the objectives, 3) the learning process (with eight stages: Stimulus Recall of Prior Learning, Objectives, Native Knowledge, Group Processing, Sharing, Expansion, Re-educate and Monitoring), and 4) the result of studying from the instructional model. The instructional model processes the quality according to the principle of quality ( = 4.49). 2. The result of the implementing the instructional model was that the posttest score of the students from analytical thinking test, critical thinking test, problem solving thinking test, biology achievement test were higher than the pretest scores at the .05 level of statistical significance. The attitude towards Biology subject of the students after learning using this instructional model was found at a good level ( = 3.87).
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.55 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น