กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7356
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุพรรณ กาญจนสุธรรม
dc.contributor.authorอรรถวุฒิ นารถกุลพัฒน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:46:00Z
dc.date.available2023-05-12T03:46:00Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7356
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาศักยภาพและข้อจำกัดการใช้เทคนิค Differential InSAR และการคำนวนการกระจายตัวใหม่ของแรงเค้นบริเวณรอยเลื่อนที่เคลื่อนตัวขณะเกิดแผ่นดินไหวเชียงรายขนาด Mw 6.3 ที่อำเภอพาน เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยการประมวลผลด้วยเทคนิค DInSAR ข้อมูลที่นำมาใช้ คือ ภาพถ่ายจากดาวเทียม RADARSAT-2 ในแนวโคจรขาขึ้นของวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ.2012 และวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ.2014 โดยนำแบบจำลองความสูงเชิงเลข (SRTM DEM) มาใช้ร่วมด้วยเพื่อลดความคลาดเคลื่อนที่มาจากภูมิประเทศ ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการเคลื่อนตัวขณะเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนพะเยานั้นไม่ชัดเจน เมื่อวิเคราะห์หาสาเหตุพบ ปัจจัย 3 ประการ คือ 1. ความแปรปรวนที่เกิดขึ้นจากการบันทึกภาพระหว่างสองช่วงเวลามีระยะห่างมากไปโดยมีระยะห่างกันถึง 672 วัน 2.ค่า Signal to Noise Ratio มีขนาดใหญ่กว่าค่าการเคลื่อนตัวของแผ่นดิน เนื่องจากไม่สามารถลดทอนความคลาดเคลื่อนอื่น ๆ ที่ปะปนมาใน Interferometric Phase ให้เหลือจนกระทั่งเห็นค่าการเคลื่อนตัวของแผ่นดินได้ 3. ค่าสหสัมพันธ์ในภาพมีค่าต่ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณรอยเลื่อนพะเยามีค่าเพียง 0.1278 เนื่องจากมีพืชพรรณปกคลุมในขณะที่ค่าสหสัมพันธ์สูงสุดคือ 0.8136 ซึ่งอยู่บริเวณเมืองเชียงราย เนื่องจากมีพื้นที่โล่งทำให้ค่าการสะท้อนกลับของสัญญาณที่ดี การประมวลผล Coulomb Stress Change โดยใช้ข้อมูลจาก GlobalCMT พบว่า มีการส่งถ่ายแรงจากรอยเลื่อนพะเยาในแนวเหนือ-ใต้ มีเพิ่มขึ้นของแรงเค้น โดยมีค่า 1.465 บาร์ในขณะที่แนวตะวันออก-ตะวันตกของรอยเลื่อนที่ทำการเคลื่อนตัวพบค่าแรงเค้นที่ลดลง โดยมีค่า -1.439 บาร์
dc.language.isoth
dc.publisherคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectแผ่นดินไหว
dc.subjectโลก
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.titleการวัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกขณะเกิดแผ่นดินไหวด้วยเทคนิค DinSAR เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 จังหวัดเชียงรายประเทศไทย
dc.title.alternativeMesuring coseismic displcement using dinsr techniquesfor 5 my 2014, ching riprovince, thilnd
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the Mw 6.3 earthquake coseismic motion at Pan District, Chiang Rai Province on May 5, 2014 by using Differential InSAR technique. Two RADARSAT-2 ascending images on July 11, 2012 and May 14, 2014 were used as the inputdata. SRTM DEM was also used together to remove topographic error. The DInSAR analysis result could not showed clearly coseicmic displacement around the Phayao fault area. This may be because 3 factors, 1). The temporal decorrelation between two images was wide interval which up to 672 days. 2). Signal to Noise Ratio was greater than land deformation because it could not be reduced other involved errors in Interferometric phase. 3). Coherence was low, especially in Phayao fault, was 0.127818 due to dense vegetation while the highest coherence was 0.8136, which was located in the city of Chiang Rai with an open area, so there was good backscatter While the Mw 6.3 earthquake coseismic motion at Pan District, Chiang Rai Province on May 5, 2014. We calculate the coseismic coulomb stress change using data from GlobalCMT. The Increasing stress of 1.465 bars in north-south and decreasing -1.439 bars in east-westof Phayao Fault.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf5.5 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น